Mohon Aktifkan Javascript!Enable JavaScript
ธรรมเนียมประเพณีของทหารเรือ
ปัจจุบันขนบธรรมเนียมประเพณีของทหารเรือนี้ นับว่าแพร่หลายไปทั่วโลกที่มีกองทัพเรือ บางอย่างก็มีลายลักษณ์อักษร บางอย่างก็ไม่มี ขนบธรรมเนียมประเพณีทหารเรืออาจไม่มีผลในทางกฎหมาย แต่ก็เป็นที่ทราบและนิยมปฏิบัติกันมา และในทุกๆชาติพันธุ์ก็มีประเพณี ของตนเอง อาจไม่เหมือนกันทั้งหมด แต่ส่วนใหญ่มีความคล้ายคลึงกัน บางชาติอาจรับมาจากอีกชาติหนึ่ง และดัดแปลงบางสิ่งบางอย่างให้เหมาะสม โดยราชนาวีไทยได้ถือเอาแบบอย่างราชนาวีอังกฤษเป็นหลัก
ถึงแม้จะมีประเพณีอีกเป็นอันมากที่ยังไม่ได้รับรองเป็นทางการก็ตาม แต่เชื่อว่าทหารเรือของประเทศทั้งหลาย ก็คงไม่ยอมให้ประเพณีเหล่านั้นเปลี่ยน ไป หรือทอดทิ้งละเลยให้สูญไปเสีย และเป็นหน้าที่ของทหารเรือ รุ่นหลังทุกคน ที่ต้องพยายามศึกษาให้รู้และปฏิบัติตาม การที่จะเป็นผู้มีวินัยดีย่อมเกิดจากการปฏิบัติ ตามแผนที่ดีและแบบแผน ธรรมเนียมที่ดีเหล่านี้จะคงอยู่ด้วยการร่วมมือกัน ปฏิบัติทั่วทุกคน ทั้งนายทหารและทหาร โดยเฉพาะผู้น้อยควรลงมือปฏิบัติก่อนเสมอ
ขอขอบคุณเอกสารอ้างอิงจากระเบียบกองทัพเรือ และหนังสือขนบธรรมเนียมประเพณีทหารเรือ ของกรมยุทธศึกษาทหารเรือ ที่ได้รวบรวมเนื้อหาจากหลายแหล่งที่มาและถอดความจากหนังสือต่างประเทศไว้ นำมาซึ่งแนวทางในการศึกษาของข้าราชการทหารเรือและผู้ที่ให้ความสนใจ ผู้รักษาสืบต่อมรดกอันล้ำค่าที่ บรรพบุรุษชาวเรือได้มอบไว้ให้ ร.ล.จักรีนฤเบศร ขอเป็นส่วนหนึ่งของการเผยแพร่ ประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของเรื่องราวแต่สมัยโบราณนี้ จนกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวเรือที่น่าภาคภูมิยิ่ง
แบบธรรมเนียมและมารยาทบางอย่างของทหารเรือโดยสังเขปที่ควรทราบมีดังต่อไปนี้ คือ
1. เมื่อได้ยินสัญญาณนกหวีดเรือต้องฟังให้ทราบว่าเป็นเรื่องอะไร
2. ห้ามผิวปากในเรือและตะโกนพูดกับคนภายนอก
3. โฮ แปลว่า หยุด หะเบส แปลว่า ดึง ลาก หระเรีย แปลว่า หย่อนปล่อยไปช้า ๆและ ต๋ง แปลว่า ผูกให้อยู่
4. เมื่อรับคำสั่งต้องทวนทำสั่งเสมอ เพื่อปฏิบัติได้ถูกต้อง
5. เมื่อได้รับคำสั่งใด ๆ ต้องตะโกน (เฉพาะยาม)
6. ตีระฆังไม่เกิน 8 ที และ ตีเป็นคู่
7. ห้ามนั่งห้อยเท้าตามที่ต่าง ๆ เช่น กราบเรือ เขื่อนริมน้ำ เป็นต้น
8. นอนแล้วข้ามกันได้ไม่ถือ เพราะในเรือแคบไม่มีทางเดิน ห้ามนอนในเรือกระเชียง
ซึ่งผูกอยู่ท้ายเรือ หรือนั่งเต้าอยู่บนเรือใหญ่
9. การขึ้นลงเรือรบและการผ่านเข้าเขตเสาธงท้าเรือต้องหันหน้าไปทางท้ายเรือ ทำการเคารพก่อนเสมอ เพื่อคารวะต่อธงราชนาวี และสถานที่
10. การขึ้นลงเรือกระเชียงผู้มีอาวุโสต่ำต้องลงก่อนและขึ้นเรือทีหลัง ห้ามเหยียบกระทงเรือ
11. ผู้มีอาวุโสต่ำต้องเข้าประจำกระเชียงก่อน ถ้าไม่มีหน้าที่ประจำกระเชียง ต้องนั่งเอามือกอดอก ในท่าผึ่งผาย ไม่จำเป็นแล้วห้ามนั่งท้ายเรือ
12. จ่าและพลทหารต้องขึ้นทางมุม ห้ามขึ้นบันได (พันจ่าอนุญาตให้ขึ้นลงบันไดซ้ายได้) เว้นในกรณีที่จำเป็น เช่นมีของมาก หรือของหนัก คลื่นจัด ๆ ต้องขออนุญาตก่อน
13. ถ้ามีทหารในเรือโบต ห้ามพลเรือนที่ไปด้วยถือท้าย
14. ห้ามนุ่งโสร่งและใส่เสื้อเกี๊ยะในเรือ ห้ามสวมรองเท้าแตะขึ้นบก แม้ว่าจะอยู่ริมฝั่งก็ตาม
15. ห้ามทหารกางร่ม (ทั้งแดดและฝน) 16. วันอาทิตย์และวันหยุดราชการ ชักธงราชนาวี
ขนาดใหญ่ท้ายเรือ
17. ก่อนทำการรับสลุตคำนับเรือสินค้า ต้องเป็นธงที่ชักอยู่เต็มเสา ถ้ารับสลุตในเวลาไว้ทุกข์ให้ชักขึ้นเต็มเสาก่อนสลุต แล้วลดลงไว้ตามเดิม
18. ก่อนเทน้ำทิ้งต้องเอามือควานก้นถังตรวจของว่ามีตกหล่นอยู่หรือไม่ก่อน แล้วต้องเทลงกราบใต้ลม
19. ห้ามสูบบุหรี่และตากผ้าเปียกในห้องใต้ดาดฟ้า ห้ามตากผ้าตามราวลวดข้างเรือโดยให้สูบบุหรี่ และตากผ้าในที่กำหนดไว้
20. หยิบของไปใช้แล้วให้นำกลับไว้ที่เดิม ถ้าชำรุดต้องซ่อมทำหรือแจ้งผู้รับผิดชอบทราบ
21. เวลาเรือถูกคลื่น เข้าแถวให้ยืนถ่างขาได้
22. เดินบนดาดฟ้าต้องสวมหมวก เว้นแต่ทหารรับใช้
23. การเคลื่อนไหวบนดาดฟ้าต้องสวมหมวกเสมอ
24. ขณะรับประทานอาหารต้องถอดหมวกเสมอ
25. พิธีธงขึ้นลง ผู้ไม่มีหน้าที่จำเป็นต้องรับธงหมดทุกคน
26. ขึ้นบุมหรือบันไดต้องว่องไว ห้ามยืนขวางช่องทางเดิน
27. ทหารต้องเดินกราบซ้ายเสมอ นอกจากเหตุจำเป็นหรือประจำสถานี
28. เชือกชักธงต้องตึงเสมอ ระวังอย่าให้ธงพันเสา
29. อย่ายืนเอนพิงกับราวลวด หลักเพดาน เป็นต้น อันแสดงที่อ่อนแอ ขี้เกียจหรือนั่งบนพุกก้ามปู เป็นต้น 30. เวลานั่ง ยืน เดินผู้อาวุโสต่ำอยู่ทางซ้ายผู้มีอาวุโสสูง ถ้าหลายคนให้ผู้อาวุโสอยู่กลาง
31. ผู้บังคับการเรือขึ้นลงหรือผู้มีตำแหน่งสูงกว่าผู้บังคับการเรือ และเป็นผู้บังคับบัญชาตามลำดับ ทหารทุกคนต้องทำความเคารพ วันแต่ผู้ที่ทำงานจำเป็นหรือไม่ได้ยินเสียงนกหวีด
32. การเคารพในเรือทำครั้งเดียวในเวลาพบกันครั้งแรก และจะทำอีกเมื่อได้รับคำสั่งให้เข้าไปพบ เว้นแต่ผู้บังคับการเรือต้องทำทุกครั้งที่ผ่าน
33. การเข้าพบนายทหารผู้มีอาวุโสต่ำ ในหมู่นายทหารอาวุโสสูงต้องขออนุญาตพบผู้นั้นต่อนายทหาร ผู้มีอาวุโสสูงสุดก่อน
34. ก่อนเข้าพบผู้มีอาวุโสสูงที่อยู่ในห้อง ต้องเคาะประตูและขออนุญาตก่อนการเคาะประตูนิยมเคาะ 3 ครั้ง ติด ๆ กัน แสดงว่าผู้เข้าพบเป็นทหารต่ำกว่าสัญญาบัตร ถ้าเคาะ 2 ครั้ง ติดๆ กัน และเว้นจังหวะเคาะอีก 1 ที แสดงว่าผู้ที่เข้าพบเป็นนายทหารชั้นสัญญาบัตร
35. การเข้าไปในห้องโถงนายทหาร ต้องแต่งเครื่องแบบให้เรียบร้อย 36. การเดินตามหลังผู้มีอาวุโสและประสงค์จะรีบขึ้นหน้า หรือผ่านในที่แคบซึ่งผู้มีอาวุโสนั่งหรือยืนอยู่ ต้องขออนุญาตก่อนเสมอ
37. การขึ้นลงบันได หรือช่องทางคับแคบ ผู้มีอาวุโสต่ำต้องหยุดแอบข้างทาง เพื่อเปิดทางสะดวก
38. ทำอะไรต้องเข้าคิว และต้องให้สิทธิผู้มีอาวุโสสูงก่อน
39. ระเบียบปลีกย่อยปฏิบัติตามที่ทางเรือสถานที่นั้น ๆ กำหนด
40. การปฏิบัติบนบกอนุโลมตามแบบธรรมเนียมและมรรยาทนี้ด้วย
ที่มา : tulpongkrit.wordpress.com
คำค้นหา ประเพณีไทย :
ทหารเรือ,
ธรรมเนียมประเพณีของทหารเรือ,
ประเพณีทหารเรือ
ทักษะการเขียนเรียงความ
ทักษะการเขียนเรียงความ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการเขียนเรียงความประเพณีไทย
คำค้นหา :
ทักษะการเขียนเรียงความ, เขียนเรียงความ, เรียงความ,
เรียงความประเพณีไทย, เรียงความเรื่องประเพณีไทย, เรียงความเรื่อง ประเพณีไทย
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>
ทักษะการเขียนเรียงความจำเป็นต้องอาศัยการ “เลียน” เพื่อ “เรียนรู้” นอกจากนี้ต้องมีความรู้และความคิดในเรื่องที่จะเขียน
จึงจะสามารถเรียบเรียงถ้อยคำออกมาเป็นเรื่องราวสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้
ปัญหาของผู้เขียน คือ ไม่รู้ว่าจะเขียนอะไร
ปัญหาของครู คือ ผู้เรียนไม่ชอบเขียน
กว่าจะเคี่ยวเข็ญให้เขียนได้แต่ละเรื่องจนกว่า จะส่งงานได้ครบทุกคนนั้น ครูต้องรอเป็นเวลานานมาก
นอกจากนี้ครูยังต้องผจญกับปัญหา
เรื่อง ลายมือ การเว้นวรรคตอน เขียนไม่มีย่อหน้า สะกดคำผิด เขียนตกหล่น
ประโยคไม่สมบูรณ์ การเรียงลำดับความไม่มีเอกภาพ
ใจความวกวน ฯลฯ
ปัญหาเหล่านี้
อาจจะแก้ไขได้โดย
1. ให้ผู้เรียนได้เห็นตัวอย่างการเขียนเรียงความที่ดีในหัวข้อเรื่องที่เหมาะสมกับเด็กและ ไม่ยาวนัก
2. ให้ผู้เรียนสังเกตการใช้ภาษา ลำดับการเขียน เนื้อหา ฯลฯ จากนั้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสทดลองเขียนดูบ้าง
อาจจะให้เขียนคนเดียวหรือช่วยกันเขียนก็ได้
3. ฝึกเขียนบ่อย ๆ เรื่องลายมือ ครูอาจแบ่งคะแนนลายมือที่เน้นการเขียนสะอาด
และ อ่านง่ายไว้ให้เห็นเป็นตัวเลขที่ชัดเจนด้วยก็จะเป็นทางหนึ่งที่นำไปใช้ได้
แนวการสอนเขียนเรียงความ เพื่อให้ผู้เรียนเขียนได้นี้
ศาสตราจารย์ฐะปะนีย์ นาครทรรพ
ท่านได้นำเสนอไว้ในหนังสือ “บันไดหลักภาษา เล่ม 2” ว่า ขั้นตอนการสอนเขียนเรียงความ มี 3 ขั้นตอน คือ 1)
เขียนแนวคิดให้กระจ่าง 2)
ร่างโครงเรื่องให้เป็นระเบียบ 3)
เรียบเรียงเนื้อความ ให้สมบูรณ์ ดังจะขออธิบายตามหัวข้อดังต่อไปนี้
1.
เขียนแนวคิดให้กระจ่าง
การมีแนวคิดก่อนลงมือเขียนเรียงความนั้นมีความจำเป็นและสำคัญมาก
เพราะหากขาดแนวคิดที่จะเขียนแล้วการเขียนย่อมไร้ทิศทาง เป็นสาเหตุให้เขียนวกวน
จับต้นชนปลายไม่ถูก
การจะกำหนดแนวคิดได้นั้นผู้เรียนจะต้องตีความจากหัวข้อเรื่องให้ได้ถูกต้องเสียก่อน
เช่น ถ้าจะสอนเรื่อง “ชีวิตคือการเดินทาง” ครูอาจใช้เทคนิคการตั้งคำถามเพื่อช่วยให้ผู้เรียนคิดให้ได้เสียก่อนว่า
เราจะเปรียบชีวิตกับการเดินทางได้อย่างไร คำตอบอาจจะได้ว่า การเดินทาง ให้ประสบการณ์แก่เรา
เช่นเดียวกับวันเวลาที่ผ่านไปในชีวิตก็ให้ประสบการณ์เช่นกัน ส่วนการเก็บเกี่ยวประสบการณ์หรือการรู้จักเลือกประสบการณ์หรือสิ่งที่เราพบเห็นมาใช้นั้นก็เป็นสิ่งจำเป็นที่จะเลือกให้เหมาะสมแก่ตัวเรา
ดังนั้น ต้องเน้นที่การเป็นคนช่างสังเกต ถ้าผู้เรียนคิดแนวคิดหลักออกมา ได้เช่นนี้แล้ว ผู้เรียนก็พอนึกออกว่าตนจะเขียนเรื่องไปในแนวใด
และเมื่อได้แนวคิดแล้ว สิ่งสำคัญต่อไปคือ
นำแนวคิดนั้นมาเขียนโครงเรื่อง
2.
ร่างโครงเรื่องให้เป็นระเบียบ
วิธีคิดโครงเรื่องนั้น อาจใช้วิธีคิดออกมาเป็นประโยคย่อยก่อน
แล้วจึงนำความคิดเหล่านั้น มาเรียงลำดับใหม่ให้เหมาะสม เช่น
1. การเดินทาง ให้ประสบการณ์แปลกใหม่แก่ชีวิต
2. ประสบการณ์ต่าง ๆ มีประโยชน์ ช่วยให้เราเห็นแนวทางในการดำเนินชีวิต
3. ตัวอย่างที่เห็นจากบุคคลอื่น เป็นแนวทางให้นำมาคิดปรับใช้กับตนเองได้
4. การเลือกประสบการณ์ดี ๆ มาใช้ ย่อมให้คุณประโยชน์แก่ผู้รู้จักเลือก
5. คนเราสามารถนำสิ่งที่พบเห็นในชีวิตมาเป็นแบบอย่างหรือเป็นครูได้
6. คนเราควรมีความคิดและวิจารณญาณมากขึ้นเมื่อวัยเพิ่มขึ้น
เมื่อได้หัวข้อของโครงเรื่องออกมาแล้ว
ผู้เรียนก็จะมองเห็นแนวทางที่จะเขียนได้ชัดเจนขึ้น
สิ่งที่ครูอาจจะช่วยผู้เรียนได้คือ
การตั้งคำถามเพื่อนำสนทนาไปสู่แนวคิดและการเขียนโครงเรื่องให้ได้
ครูอาจจะต้องยอมเสียเวลาในห้องเรียนสำหรับขั้นตอนนี้
เมื่อผู้เรียนลงมือเขียนได้บ้างแล้ว
บางคนอาจจะยังเขียนไม่ออก ครูก็ต้องช่วยตั้งคำถาม นำความคิดต่อไป
แต่ถ้าได้พยายามแล้วยังเขียนไม่ได้อีก ครูอาจต้องย้อนมาดูที่ปัญหาอื่น ๆ และ หาแนวทางแก้ไข
แล้วสอนเท่าที่ผู้เรียนจะสามารถทำงานได้โดยไม่รู้สึกเครียดจนเกินไป
เพราะวิชาภาษาไทยเป็นวิชาที่ต้องอาศัยทัศนคติและพื้นฐานที่ดีร่วมกับการฝึกฝนอย่างสม่ำเสมอ
บางครั้ง อาจจะจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนบ้างเพื่อให้สอดคล้องกับผู้เรียน
อย่างไรก็ตาม การสอนเขียนเรียงความนี้
ครูต้องคำนึงถึงความรู้และประสบการณ์ ของผู้เรียนเป็นสำคัญ
หัวข้อเรื่องต้องเหมาะแก่วัยและชั้นเรียน หรือเป็นสิ่งที่กำลังอยู่ในความสนใจ การเริ่มต้นเขียนต้องเริ่มจากง่ายและใกล้ตัวผู้เรียน
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเขียนได้ด้วยความมั่นใจ การเริ่มต้นที่ไม่ยากจะกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากเขียน
นับว่าเป็นสิ่งสำคัญที่สุด
ที่เสนอแนวทางการสอนเขียนเรียงความมาแล้วนี้
เป็นเพียงการสอนให้ผู้เรียนเขียนให้ได้เสียก่อน ในส่วนของรูปแบบนั้น
ครูอาจจะแนะนำภายหลังก็ได้ เพราะการเขียนให้มีรูปแบบ เหมือนการจัดสิ่งที่มีอยู่ให้ดูสวยงามนั่นเอง
รูปแบบของเรียงความ มี 3 ส่วน คือ 1) นำเรื่อง
หรือ ตอนนำ 2) เนื้อเรื่อง 3) สรุป หรือตอนปิดเรื่อง
ทั้ง 3 ส่วนนี้
มีความสำคัญที่จะช่วยให้เรียงความน่าอ่าน เพราะสัดส่วนของเรื่องก็เหมือนรูปทรงภายนอกที่สามารถมองเห็นได้ก่อน
ครูอาจจะให้ผู้เรียนดูตัวอย่างเรียงความจากเรื่องเดียวกัน
แต่เขียนต่างกัน แบบหนึ่งมีย่อหน้า วรรคตอนถูกต้องสวยงาม กับอีกแบบเขียนโดยไม่มีย่อหน้าและไม่เว้นวรรคตอน
หรือ เว้นวรรคไม่ถูกต้อง
จากนั้นให้ผู้เรียนเลือกว่าอยากอ่านแบบใด เพราะอะไร
คำตอบของผู้เรียนจะช่วยให้เขาตระหนักในความสำคัญของการเขียนอย่างมีย่อหน้าและวรรคตอนที่ถูกต้อง
โดยครูไม่ต้องไปบ่นว่าให้เสียเวลาและเสียอารมณ์ของผู้ฟังเลยแม้แต่น้อยนิด
ส่วนเรื่องลายมือ บางทีเป็นเรื่องความนิยมของเด็ก
สมัยนี้เด็กจะเขียนหนังสือด้วยลายมือที่คล้ายคลึงกันมาก เหมือนตัวหนอนเป็นเส้น ๆ
อ่านยาก ถ้าหมึกที่เขียนมีสีอ่อนจาง ก็เกือบกล่าวได้ว่าอ่านไม่ได้ทีเดียว
วิธีนี้ครูต้องพูดกับผู้เรียนให้ชัดเจนว่า ครูตรวจไม่ได้ อ่านไม่ออก เพราะฉะนั้น อาจมีข้อตกลงว่า
ต้องลอกใหม่ เพราะครูจำเป็นต้องตรวจงานของทุกคน
การสอนให้ผู้เรียนเขียนโครงเรื่องออกมาเป็น 3
ส่วนนี้ ต้องให้ผู้เรียนเข้าใจว่า ต้องพิจารณาว่าตอนใดเป็นการเกริ่นเพื่อนำเข้าสู่เรื่อง
เป็นตอนที่กล่าวนำเพื่อยั่วให้อยากอ่าน
ครูต้องหาตัวอย่างนำเรื่องที่น่าสนใจมาให้ดู แล้วให้ผู้เรียนอภิปรายว่า
เรื่องใดเขียนดี เพราะเหตุใด นั่นคือ ตอนนำเรื่อง
บางครั้งผู้เรียนชอบถามว่าจะให้เขียนกี่บรรทัด ตรงนี้ครูอาจจะระบุกว้าง ๆ
ให้ก็ได้ว่า ถ้าเขียนเรียงความหนึ่งหน้า
(ประมาณ 24 บรรทัด) ส่วนนำเรื่องก็ประมาณ 3 - 5 บรรทัด
การเขียนนำเรื่องนั้น ครูสามารถหาตัวอย่างมาก ๆ
หลากหลายแบบหลายชนิดมาให้ผู้เรียนได้ศึกษาเป็นใบความรู้ เช่น คำนำที่ขึ้นต้นด้วย
บทร้อยกรอง, วาทะของบุคคลสำคัญ, เหตุการณ์ปัจจุบันที่น่าสนใจ, เริ่มจากปัญหาที่เกิดขึ้น,
เกริ่นนำ ฯลฯ
เมื่อผู้เรียนเขียนตอนนำเรื่องนั้น
ให้ย้ำว่าจะต้องระลึกอยู่เสมอว่า กำลังเขียนเรื่องอะไร
สอดคล้องกับแนวคิดและโครงเรื่องที่วางไว้หรือเปล่า
ตัวอย่างการเขียนนำเรื่องมีความสำคัญมาก
เพราะการสอนเขียนที่ดีที่สุด คือ การให้ดูจากตัวอย่าง
เมื่อผู้เรียนได้เห็น ตัวอย่างมาก
ๆ แล้ว เขาจะนำไปเป็นแนวทางในการเขียนได้เอง ครูมีหน้าที่ให้กำลังใจ
คำชมคือปุ๋ยที่จะพัฒนาความสามารถของผู้เรียน ส่วนคำติ เหมือนยาฆ่าแมลง
ต้องใช้บ้างแต่ก็ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง บางครั้งอาจต้องรานกิ่งริดก้านเพื่อให้ได้ผลงดงามที่สุด
เพราะฉะนั้นการติจึงควรเป็นคำแนะนำมากกว่า หรือครูอาจถามความคิดของผู้เรียนก่อนว่า
เขาคิดอย่างไรที่เขียนเช่นนั้น
บางครั้งผู้เขียนอาจคิดแปลกและสร้างสรรค์เกินกว่าครูจะคาดถึงก็ได้
3.
เรียบเรียงเนื้อความให้สมบูรณ์
ถ้าครูกำหนดคาบสอนเรียงความไว้ 3 - 4 คาบเรียน
คาบแรกครูควรสอนเรื่องการเขียนแนวคิดและการวางโครงเรื่อง พร้อมกับให้ปฏิบัติ ส่วนคาบที่
2 ควรฝึกเขียนนำเรื่องระหว่างสอน ครูควรแบ่งเวลาให้ผู้เรียนได้ทดลองเขียนด้วย
แล้วเลือกผลงานของผู้เรียนออกมาอ่านเพื่อเป็นตัวอย่าง
ให้เพื่อนร่วมชั้นช่วยกันวิจารณ์แสดงความคิดเห็น
การใช้ตัวอย่างจากผลงานของเพื่อนในชั้นเรียน จะช่วยให้ผู้เรียนรู้สึกว่างานที่ครูให้ทำไม่ยากจนเกินไป
นอกจากนี้การได้ฟังตัวอย่างก็จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดออกว่าจะเขียนอะไร
อย่างไร
ในส่วนการสอนเขียนเนื้อเรื่องนั้น
ขอให้ยึดโครงเรื่องไว้ตลอดเวลาที่เขียน แต่ทั้งนี้ ต้องแนะนำผู้เรียนว่า ถ้าระหว่างที่เขียนเห็นว่าโครงเรื่องน่าจะเปลี่ยนแปลงใหม่ก็สามารถทำได้
ไม่มีอะไรตายตัวในเรื่องของการเขียน
ปัญหาของการเขียนเนื้อเรื่องเท่าที่พบเสมอคือ
เนื้อเรื่องขาดเอกภาพและสัมพันธภาพ วิธีแก้ไขคือ
ครูต้องนำสิ่งที่เป็นปัญหามาให้ผู้เรียนร่วมกันคิดพิจารณาและหาทางแก้ไข
การร่วมด้วยช่วยกันคิดเช่นนี้ คือ การเรียนรู้ที่ดีอีกวิธีหนึ่ง
นอกจากนี้การส่งเสริมให้อ่านเรียงความที่เขียนดี
มีสาระและไม่ยาวนัก เช่น “แสงธรรม”
ของมูลนิธิ ก.ศ.ม. ก็เป็นวิธีหนึ่งที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นแนวทางการเขียน
เพราะหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยความเรียงสั้น ๆ ที่มีรูปแบบสมบูรณ์ทั้งนำเรื่อง
เนื้อเรื่อง และสรุปอย่างชัดเจนทั้งข้อเขียนก็มีขนาดสั้นพอเหมาะแก่ความสนใจ
ข้อคิดจากเรื่องก็ง่ายเพราะเป็นสิ่งที่พบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน
และที่สำคัญคือ สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตของตนเองได้ด้วย
ในการเขียนสรุปหรือปิดเรื่องนั้น ผู้เรียนอาจมีปัญหาว่าจะจบอย่างไรดี
วิธีสอนอย่างง่าย ก็คือ หาตัวอย่างมาให้ศึกษามาก ๆ
แล้วให้ช่วยกันสังเกตว่าการเขียนสรุปจากตัวอย่างนั้นใช้กลวิธีใดบ้าง เช่น
สรุปด้วยบทร้อยกรอง คำคม คำขวัญ สุภาษิต ข้อคิด ฯลฯ
จากวิธีการสอนดังกล่าวจะช่วยแก้ปัญหาของผู้เรียนที่ว่า
“ไม่รู้จะเขียนอะไร” ให้หมดไปได้บ้าง
ข้อสำคัญอยู่ที่ครูต้องตรวจผลงานของผู้เรียน และต้องตรวจในเวลาที่ไม่นานจนเกินไป
เพราะผู้เรียนมักจะรอฟังผลงานของตนอย่างกระตือรือร้นในช่วงแรก ๆ เท่านั้น
แต่ปัญหาของครูคือ ผู้เรียนในชั้นเรียนมีห้องละกว่า 50 คน ครูจะบริหารเวลาอย่างไร
ครูอาจจะต้องให้งานผู้เรียนแต่ละห้อง ไม่ตรงกัน
หรือใช้วิธีสอนให้เขียนทีละส่วน งานของครูก็จะเบาลงพอที่จะปฏิบัติได้จริง เพราะ การสอนเขียนนั้นสำคัญยิ่งที่ครูจะต้องมีข้อมูลย้อนกลับมาให้ผู้เรียนทราบ
ถ้าครูไม่สามารถตรวจงานผู้เรียนได้แล้วการสอนเขียนก็ไร้ค่า
และสร้างปัญหาให้ผู้เรียนมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเขียนยิ่งขึ้น
นอกจากนี้การให้คะแนนอย่างชัดเจนมีสัดส่วนของคะแนนที่ครูอธิบายได้ว่า
ที่ให้คะแนนเช่นนี้ มีหลักอย่างไร
ก็จะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและไม่รู้สึกน้อยใจเมื่อคะแนนออกมาน้อยกว่าที่เขาคาดหวัง
แต่อย่างไรก็ตามครูไม่ควรให้คะแนนน้อยจนเกินไป
ถ้าผลงานชิ้นนั้นมีข้อตำหนิมากเกินไป ควรให้ผู้เรียนนำไปปรับปรุงเสียก่อนจะดีกว่า
ขั้นตอนสุดท้ายที่ครูสามารถนำมาช่วยพัฒนาผู้เรียนให้ชอบเขียนได้ก็คือ
การนำผลงานของผู้เรียนไปเผยแพร่ ด้วยการติดป้ายนิเทศ หรือลงวารสารของโรงเรียน
หรือแม้แต่การนำผลงาน ของผู้เรียนมารวมกันแล้วเย็บเป็นเล่ม
อาจทำภาพประกอบแบบหนังสือเล่มเดียว โดยให้ผู้เรียนที่มีความสามารถด้านศิลปะมาช่วยตกแต่งรูปเล่ม
ก็จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของการเขียน
ตลอดจนตระหนักในความสามารถของตนเอง เพื่อจะได้มีกำลังใจที่จะพัฒนาตนเองยิ่ง ๆ ขึ้นไป
ข้อเสนอแนะ
1. การสอนเขียนเรียงความสำหรับผู้เรียนที่มีพื้นฐานความรู้ทางภาษาค่อนข้างต่ำกว่าเกณฑ์
ครูอาจจะต้องเริ่มต้นที่การสอนให้เขียนประโยค จากประโยคจึงเรียบเรียงเป็นเรื่องราวสั้น
ๆ เช่น เขียนบรรยาย
เพราะภาพจะช่วยบอกเนื้อเรื่องได้
2. ต่อจากนั้นจึงเริ่มสอนการเขียนนำเรื่อง
จากเรื่องที่ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตั้งชื่อเรื่อง หาตัวอย่างการเขียนนำเรื่องหลาย ๆ
แบบมาให้ศึกษา แล้วฝึกเขียนนำเรื่องอย่างเดียวจนแน่ใจว่านักเรียนเขียนได้แล้ว
จึงฝึกเขียนสรุปเรื่อง และเมื่อได้ฝึกเขียนทั้งนำเรื่องและสรุปเรื่องแล้ว
การเขียนเรียงความทั้งเรื่องก็จะทำได้ง่ายขึ้น
3. เทคนิควิธีการสอนเขียนเรียงความ
จึงขึ้นอยู่กับพื้นฐานของผู้เรียนเป็นสำคัญ ถ้าผู้เรียน มีพื้นฐานดีอยู่แล้ว
การสอนเน้นแนวคิดจะให้ประโยชน์ได้มากกว่า เพราะเป็นการเริ่มต้นที่การคิดวิเคราะห์
แล้วนำมาสังเคราะห์ให้เป็นเรื่องราวที่สมบูรณ์
คำค้นหา :
ทักษะการเขียนเรียงความ, เขียนเรียงความ, เรียงความ,
เรียงความประเพณีไทย, เรียงความเรื่องประเพณีไทย, เรียงความเรื่อง ประเพณีไทย
คำค้นหา ประเพณีไทย :
เขียนเรียงความ,
ทักษะการเขียนเรียงความ,
เรียงความ,
เรียงความประเพณีไทย
การวาดภาพระบายสี
การวาดภาพระบายสี
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>
การวาดภาพระบายสี
1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
- เป็นนักเรียนระดับชั้น
ป. 1 – ป.3
- เป็นนักเรียนระดับชั้น
ป. 4 – ป.6
- เป็นนักเรียนระดับชั้น
ม. 1 – ม.3
- เป็นนักเรียนระดับชั้น
ม. 4 – ม.6
2. ประเภทและจำนวนผู้เข้าแข่งขัน
2.1 ประเภท
เดี่ยว
2.2 จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
-
ระดับชั้น ป.1 – ป.3 จำนวน
1 คน
-
ระดับชั้น ป.4 – ป.6 จำนวน
1 คน
-
ระดับชั้น ม.1 – ม.3 จำนวน
1 คน
3. วิธีดำเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
3.1 ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน
3.2ใช้กระดาษ
100 ปอนด์ ขนาดกระดาษและสีที่ใช้ในการแข่งขัน
-
ระดับชั้น ป.1- ป.3 ขนาด
11” x 15” ใช้สีไม้
-
ระดับชั้น ป.4- ป.6 ขนาด
11” x 15” ใช้สีชอล์คน้ำมัน
-
ระดับชั้น ม.1- ม.3 ขนาด
15” x 22” ใช้สีโปสเตอร์หรือสีอะคริลิก
-
ระดับชั้น ม.4- ม.6 ขนาด
15” x 22” ใช้สีน้ำ
3.3 คณะกรรมการกำหนดหัวข้อในการวาดภาพในวันแข่งขันโดยให้คณะกรรมการร่วมกันกำหนดหัวข้ออย่างน้อย
5 หัวข้อ แล้วให้ตัวแทนผู้เข้าแข่งขันจับสลากเพียง 1 หัวข้อ เพื่อเป็นหัวข้อในการวาดภาพ
3.4 ไม่ต้องเคลือบภาพและไม่ต้องใส่กรอบภาพ
3.5 ห้ามนำต้นฉบับมาดูในขณะแข่งขัน
3.6 ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาเอง
3.7 เวลาในการวาดภาพ
3 ชั่วโมง
4. เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน
- ความคิดสร้างสรรค์
20 คะแนน
- เทคนิคการใช้สี
20 คะแนน
- ความสวยงาม
ความประณีต 20 คะแนน
- ความสอดคล้องของภาพกับหัวข้อที่กำหนด
20 คะแนน
- การจัดองค์ประกอบของภาพ
20 คะแนน
5. เกณฑ์การตัดสิน
ร้อยละ 80
- 100 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง
ร้อยละ 70
- 79 ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน
ร้อยละ 60
- 69 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง
ต่ำกว่าร้อยละ
60 ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น
ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
6. คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ
3 หรือ 5 คน
คุณสมบัติของคณะกรรมการ
-
เป็นศึกษานิเทศก์ที่ รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
-
เป็นครูที่ทำการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
-
ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านศิลปะ
ข้อควรคำนึง
-
กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน
-
กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่ทำการสอน
-
กรรมการควรมีที่มาจาก ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอื่นอย่างหลากหลาย
- กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะในลำดับที่
1 -3 และจัดแสดงผลงานต่อสาธารณชน
7. การเข้าแข่งขันระดับชาติ
7.1 บุคคลหรือทีมที่
เป็นตัวแทนของเขตพื้นที่ การศึกษาเข้าแข่งขันในระดับภาค ทุกกิจกรรมต้องได้
คะแนนระดับเหรียญทอง
ลำดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป)
และบุคคลหรือทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันในระดับชาติ
จะต้องได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลำดับที่ 1 - 3 (คะแนนร้อยละ 8๐ ขึ้นไป )
7.2
ในกรณีที่ มีผู้ชนะลำดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า 3
คน/ทีม ให้พิจารณาลำดับที่ ตามลำดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น มีผู้ที่
ได้คะแนนข้อที่ 1 เท่ากันให้ดูข้อที่ 2
ผู้ที่ ได้คะแนนข้อที่ 2 มากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ ถ้าข้อที่
2 เท่ากัน ให้ดูในข้อถัดไป
กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อให้ประธานกรรมการตัดสินเป็นผู้ชี้ขาด
คำค้นหา
การ วาด ภาพ ระบายสี โปสเตอร์การ, วาด ภาพ ระบายสี น้ําการ, วาดภาพระบายสีเศรษฐกิจพอเพียง, การวาดภาพระบายสีอาเซียน, การวาดภาพระบายสีไม้, การวาดภาพระบายสีชอล์ก
คำค้นหา ประเพณีไทย :
การ วาด ภาพ ระบายสี โปสเตอร์การ,
วาดภาพระบายสีเศรษฐกิจพอเพียง
การแข่งขัน “ศิลป์สร้างสรรค์”
ศิลป์สร้างสรรค์
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>
การแข่งขัน “ศิลป์สร้างสรรค์”
1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
- เป็นนักเรียนระดับชั้น
ป. 1 – ป.3
- เป็นนักเรียนระดับชั้น
ป.4 – ป.6
- เป็นนักเรียนระดับชั้น
ม. 1 – ม.3
- เป็นนักเรียนระดับชั้น
ม. 4 – ม.6
2. ประเภทและจำนวนผู้เข้าแข่งขัน
2.1 ประเภท
เดี่ยว
2.2 จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
-
ระดับชั้น ป.1 – ป.3 จำนวน
1 คน
-
ระดับชั้น ป.4 – ป.6 จำนวน
1 คน
-
ระดับชั้น ม. 1 – ม.3 จำนวน
1 คน
3. วิธีดำเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
3.1 ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน
3.2 ใช้กระดาษ
100 ปอนด์ ขนาดกระดาษ
-
ระดับชั้น ป.1- ป.3 และ
ป.4-ป. 6 ขนาด 11” x 15”
-
ระดับชั้น ม.1- ม.3 และ
ม.4- ม.6 ขนาด 15” x 22”
3.3 คณะกรรมการกำหนดหัวข้อในการวาดภาพในวันแข่งขันโดยให้คณะกรรมการร่วมกันกำหนดหัวข้ออย่างน้อย
5 หัวข้อ แล้วให้ตัวแทนผู้เข้าแข่งขันจับสลากเพียง 1 หัวข้อ เพื่อเป็นหัวข้อในการวาดภาพ
3.4 การวาดภาพให้ใช้ความสามารถทั้งด้านการวาดภาพระบายสี
และเทคนิคการใช้สีโดยใช้สีหรือวัตถุที่ทำให้เกิดสี ไม่ต่ำกว่า 2 ชนิด เช่น สีฝุ่น สีผสมอาหาร ฯลฯ และใช้เทคนิคการพิมพ์ภาพ อย่างง่าย
ดังนี้
-
ระดับชั้น ป.1– ป.3
การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์วัสดุธรรมชาติไม่ผ่านการแกะ/สลัก/ตกแต่ง
-
ระดับชั้น ป.4– ป.6
การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์วัสดุธรรมชาติผ่านการแกะ/สลัก/ตัด/ตกแต่ง
- ระดับชั้น
ม.1 – ม.3
การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์วัสดุธรรมชาติและหรือวัสดุสังเคราะห์
ผ่านการแกะ/สลัก/ตัด/ตกแต่ง
- ระดับชั้น
ม.4 – ม.6 การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์วัสดุธรรมชาติและหรือวัสดุสังเคราะห์
ผ่านการแกะ/สลัก/ตัด/ตกแต่ง
3.5 ไม่ต้องเคลือบภาพและไม่ต้องใส่กรอบภาพ
3.6 ห้ามนำต้นฉบับมาดูในขณะแข่งขัน
3.7 ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาเอง
3.8 เวลาในการวาดภาพ
3 ชั่วโมง
4. เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน
- ความคิดสร้างสรรค์
20 คะแนน
- เทคนิคการใช้สี
20 คะแนน
- ความประณีต/ความสวยงามของรูปภาพ
20 คะแนน
- ความสอดคล้องของภาพกับหัวข้อที่กำหนด
20 คะแนน
- ความสมบูรณ์และการจัดองค์ประกอบของภาพ
20 คะแนน
5. เกณฑ์การตัดสิน
ร้อยละ 80
- 100 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง
ร้อยละ 70
- 79 ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน
ร้อยละ 60
- 69 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง
ต่ำกว่าร้อยละ
60 ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น
ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
6. คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ
3 หรือ 5 คน
คุณสมบัติของคณะกรรมการ
-
เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
-
เป็นครูที่ทำการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
-
ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านศิลปะ
ข้อควรคำนึง
-
กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน
-
กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่ทำการสอน
-
กรรมการควรมีที่มาจาก ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอื่นอย่างหลากหลาย
-
กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะในลำดับที่ 1
-3 และจัดแสดง
ผลงานต่อสาธารณชน
7. การเข้าแข่งขันระดับชาติ
7.1 บุคคลหรือทีมที่
เป็นตัวแทนของเขตพื้นที่ การศึกษาเข้าแข่งขันในระดับภาค ทุกกิจกรรมต้องได้
คะแนนระดับเหรียญทอง
ลำดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป)
และบุคคลหรือทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันในระดับชาติ
จะต้องได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลำดับที่ 1 - 3 (คะแนนร้อยละ 8๐ ขึ้นไป )
7.2
ในกรณีที่มีผู้ชนะลำดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า 3
คน/ทีม ให้พิจารณาลำดับที่ ตามลำดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น มีผู้ที่
ได้คะแนนข้อที่ 1 เท่ากันให้ดูข้อที่ 2
ผู้ที่ ได้คะแนนข้อที่ 2 มากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ ถ้าข้อที่
2 เท่ากัน ให้ดูในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อให้
ประธานกรรมการตัดสินเป็นผู้ชี้ขาด
คำค้นหา ศิลป์สร้างสรรค์
ศิลป์สร้างสรรค์, ศิลป์สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้, ศิลป์สร้างสรรค์ระดับประเทศ, ศิลป์สร้างสรรค์ สําหรับปฐมวัย, ศิลป์สร้างสรรค์ คือ, ศิลป์สร้างสรรค์ หมายถึง, ศิลป์สร้างสรรค์ จากกระดาษ, ศิลป์สร้างสรรค์ ป.1-3, ศิลป์สร้างสรรค์ คืออะไร, ศิลป์สร้างสรรค์ ป.4-6, ศิลป์สร้างสรรค์ จากวัสดุเหลือใช้, ศิลป์สร้างสรรค์ อาเซียน, ศิลป์สร้างสรรค์ ศิลปหัตถกรรม, ศิลป์สร้างสรรค์ ม.ต้น, ศิลป์สร้างสรรค์ เศรษฐกิจพอเพียง, ศิลป์สร้างสรรค์ ม.1-3, ศิลป์สร้างสรรค์ ป 3, ศิลป์สร้างสรรค์ งานใบตอง, ศิลป์สร้างสรรค์ ม.ปลาย, ศิลป์สร้างสรรค์ จากวัสดุธรรมชาติ, ศิลป์สร้างสรรค์ อนุบาล, ศิลป์สร้างสรรค์ระดับประเทศ, ศิลป์สร้างสรรค์ ประถม, ศิลป์สร้างสรรค์ อาเซียน, ศิลป์สร้างสรรค์ เศรษฐกิจพอเพียง, ศิลป์สร้างสรรค์ธรรมชาติ, ศิลป์สร้างสรรค์ ศิลปหัตถกรรม
ศิลป์สร้างสรรค์, ศิลป์สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้, ศิลป์สร้างสรรค์ระดับประเทศ, ศิลป์สร้างสรรค์ สําหรับปฐมวัย, ศิลป์สร้างสรรค์ คือ, ศิลป์สร้างสรรค์ หมายถึง, ศิลป์สร้างสรรค์ จากกระดาษ, ศิลป์สร้างสรรค์ ป.1-3, ศิลป์สร้างสรรค์ คืออะไร, ศิลป์สร้างสรรค์ ป.4-6, ศิลป์สร้างสรรค์ จากวัสดุเหลือใช้, ศิลป์สร้างสรรค์ อาเซียน, ศิลป์สร้างสรรค์ ศิลปหัตถกรรม, ศิลป์สร้างสรรค์ ม.ต้น, ศิลป์สร้างสรรค์ เศรษฐกิจพอเพียง, ศิลป์สร้างสรรค์ ม.1-3, ศิลป์สร้างสรรค์ ป 3, ศิลป์สร้างสรรค์ งานใบตอง, ศิลป์สร้างสรรค์ ม.ปลาย, ศิลป์สร้างสรรค์ จากวัสดุธรรมชาติ, ศิลป์สร้างสรรค์ อนุบาล, ศิลป์สร้างสรรค์ระดับประเทศ, ศิลป์สร้างสรรค์ ประถม, ศิลป์สร้างสรรค์ อาเซียน, ศิลป์สร้างสรรค์ เศรษฐกิจพอเพียง, ศิลป์สร้างสรรค์ธรรมชาติ, ศิลป์สร้างสรรค์ ศิลปหัตถกรรม
คำค้นหา ประเพณีไทย :
ระดับประเทศ,
ศิลป์สร้างสรรค์,
ศิลป์สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้
ถิ่นกำเนิดประเพณี :
จังหวัด สกลนคร ประเทศไทย
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย
หลายๆ ท่าน หลายโรงเรียนในช่วงนี้ อาจจะกำลังตามหารูปภาพที่จะใช้ในการวาดประกวดใน หัวข้อ "ภาพวาดประกวดประเพณีไทย" เพื่อให้เด็กๆ ได้หัดวาด หัดทำ เพื่อที่จะนำมาใช้ในการประกวดวาดภาพ การแข่งขันเขียนภาพไทยประเพณี ที่กำลังจะมีขึ้นในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ ๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โดยมีการจัดเป็นประจำในทุกๆ ปี และในปีนี้ ก็มีหัวข้อการจัดแข่งขันไว้มากมาย ในครั้งนี้ผมจะขอแบ่งปันรูปภาพต่างๆท่่ใช้ในการประกวด ภาพวาดประกวดประเพณีไทย เพื่อใช้ในการเตรียมตัวนักเรียน หรือ ลูกศิษย์ ของท่าน เพื่อให้มีจินตนาการในการสร้างสรรคืผลงานและ มีความรวดเร็วในการสร้งผลงาน ภาพวาดประกวดประเพณีไทย
ระดับอายุไม่เกิน ๘ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง
ด.ช.ภัทรคม กรลักษณ์ อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ ขี่ม้า เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๔ x ๗๔ ซม.
ระดับอายุไม่เกิน ๘ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน
ด.ญ.โสภิดา แก้วสุข อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ นกฮูกตาโต เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๔ x ๗๕ ซม.
ด.ช.ฆรวัณณ์ เอียดแก้ว อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ ตัวฉัน...ฝัน เทคนิค สีชอล์ค ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ระดับอายุไม่เกิน ๘ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง
ด.ญ.ธมน ง้วนประเสริฐ อายุ ๕ ปี ชื่อภาพ นางรำ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๓ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.พรหมพร บุญอาจ อายุ ๖ ปี ชื่อภาพ ผีเสื้อแสนสวย เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ช.ปวีร์ คำภากุล อายุ ๕ ปี ชื่อภาพ มังกร เทคนิค สีชอล์ค ขนาด ๕๑ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.วีรดา ฉัตรชัยการ อายุ ๘ ปี ชื่อภาพ พลังงานของพ่อหลวง เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๗๕ x ๑๑๐ ซม.
ด.ญ.อรญา พิมพา อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ ปิดทองหลวงพ่อโต เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.ทัดตะวัน อินสมตัว อายุ ๖ ปี ชื่อภาพ เด็กหญิงดอกไม้ เทคนิค สีผสม ขนาด ๕๕ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.วิกาวี รัตตมณี อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ ชีวิตกับความฝัน เทคนิค สีชอล์คกับสีไม้ ขนาด ๕๕ x ๗๕ ซม.
ระดับอายุ ๙ - ๑๒ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง
ด.ช.ทิวทัศน์ คะนะมะ อายุ ๙ ปี ชื่อภาพ ประเพณีบุญผะเหวด เทคนิค สีเมจิก สีไม้ สีอะครีลิก ขนาด ๘๐x ๑๑๒ ซม.
ระดับอายุ ๙ - ๑๒ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน
ด.ช.สิรภัทร เบญจชย อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ ชีวิตพอเพียง เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๕ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.ธัญวรัตน์ นุตยางกูร อายุ ๙ ปี ชื่อภาพ ฉันนอนกับแม่ เทคนิค สีผสม ขนาด ๕๕ x ๗๖ ซม.
ระดับอายุ ๙ - ๑๒ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง
ด.ญ.จิดาภา ตรงศิริวิบูลย์ อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ เมืองไทยวันนี้ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๓๗.๕ x ๕๕ ซม.
ด.ญ.ธันยพร สุขโต อายุ ๙ ปี ชื่อภาพ เวียนเทียน ๒ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.กิตติยา พาระวัน อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ เที่ยวเมืองหลวง เทคนิค สีโปสเตอร์ สีหมึก ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.แคทรีน วิสุนราช อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ ดำน้ำ เทคนิค สีชอล์ค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๗๔ ซม.
ด.ญ.ณัฐริกา แจ้งแสง อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ รามเกียรติ์ ตอนประเทศไทย ๒๕๕๑ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.ปทิตตา กาญจนะปริชาติ อายุ ๑๐ ปี ชื่อภาพ จับปลา ๑ เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๕๕ x ๗๕ ซม.
ด.ญ.อรอุมา ปัญจมาศ อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ อพาร์ทเมนท์ ๒ เทคนิค ภาพพิมพ์กระดาษและเขียนสีชอล์ค ขนาด ๗๐ x ๑๐๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๓ - ๑๖ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง
นายจักรพงษ์ เทพเกาะ อายุ ๑๕ ปี ชื่อภาพ หุ่นไล่กา เทคนิค แกะไม้ระบายสี ขนาด ๙๐ x ๑๒๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๓ - ๑๖ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน
ด.ญ.หทัยวรรณ เทพมาลี อายุ ๑๔ ปี ชื่อภาพ ความศรัทธา เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม.
น.ส.นริศรา จิโรจนนุกุล อายุ ๑๖ ปี ชื่อภาพ ประจัญบาน เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๓ - ๑๖ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง
ด.ญ.ทักษพร กล้ากสิกิจ อายุ ๑๔ ปี ชื่อภาพ ให้พร เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๘๐ x ๑๑๐ ซม.
นายทศพร กลันพล อายุ ๑๖ ปี ชื่อภาพ ภูมิปัญญา เทคนิค สีน้ำมัน ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
นายพัลลภ วงศ์วิไลพิสิฐ อายุ ๑๕ ปี ชื่อภาพ แทนพระคุณ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๖๗.๕ ซม.
นายอธิศ มณีนพผล อายุ ๑๖ ปี ชื่อภาพ “แม่”...ของฉัน เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๙๐ x ๑๒๐ ซม.
นายเอก รอดเมฆ อายุ ๑๕ ปี ชื่อภาพ ในกรง เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๗๐ x ๑๐๐ ซม.
ด.ญ.ชนิดา สงวนเผ่า อายุ ๑๔ ปี ชื่อภาพ ในจินตนาการ เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๗๖ x ๑๑๒ ซม.
น.ส.มาริสา เดชจำเริญ อายุ ๑๕ ปี ชื่อภาพ แห้งแล้ง เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๑๙ x ๓๐ x ๑๐๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๗ - ๒๐ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง
นายพุรพล โซโต้หยิน อายุ ๑๘ ปี ชื่อภาพ พฤติกรรมเลียนแบบ เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๗ - ๒๐ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน
นายนิพนธ์ พรมสุภา อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ ที่พึ่ง (หยุด) เทคนิค สีน้ำมัน ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
นายกฤตธี นันทิทัศน์ อายุ ๑๘ ปี ชื่อภาพ แก็งค์ราตรี เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๙๐ x ๑๒๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๗ - ๒๐ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง
นายอภินันท์ เกตุกูล อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ ฟักทอง เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๑๐๕ x ๑๒๐ ซม.
นายศิลปากร มณีรัตน์ อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ อย่าให้เขามาเชิดเรา เทคนิค สีน้ำมัน ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
นายอดิศักดิ์ ภักดีนอก อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ บันควาย เทคนิค แกะไม้ ลงสี ขนาด ๙๐ x ๑๒๐ ซม.
นายพัฒนชัย วรรณพัฒน์ อายุ ๑๘ ปี ชื่อภาพ ภัยสังคม (๒๕๕๑) เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๘๐ x ๑๒๐ ซม.
น.ส.จุไฬรัตน์ ขันขยัน อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ ลุ้นระทึก เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
น.ส.ภัทรริญญา พรมผอง อายุ ๑๙ ปี ชื่อภาพ Me เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๘๐ x ๑๒๐ ซม.
นายสรายุทธ สิงห์ประเสริฐ อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ ย้อนรอยอดีต เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม.
อ้างอิงที่มารูปภาพ : http://atcloud.com/stories/55229
คำค้นหา
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย, ภาพวาด, ประกวดประเพณีไทย, ภาพประเพณีไทย, ภาพวาด3มิติ, ภาพวาดเหมือนจริง, ภาพวาดที่สวยที่สุดในโลก, ภาพวาดการ์ตูน, ภาพวาดสวยๆ, ภาพวาดสามมิติ, ภาพวาดทราย, ภาพวาดวันสุนทรภู่, ภาพวาดสุนทรภู่, ภาพวาดสีน้ํา, ภาพวาดระบายสี, ภาพวาดลายเส้น, ภาพวาดดอกไม้, ภาพวาดของศิลปิน, ภาพวาดพระอภัยมณี, ภาพวาดปลาคาร์ฟ, ภาพวาดธรรมชาติ, ภาพวาดอาร์ตๆ, ภาพวาดยาเสพติด, ภาพวาดศิลปะ, ภาพวาดสีน้ํามัน, ภาพวาด 3 มิติ, ภาพวาด อ.เฉลิมชัย, ภาพวาดสีน้ำมัน, ภาพวาดพื้นถนน 3 มิติ, ภาพวาด3มิติ พัทยา, ภาพประเพณีไทย 4 ภาค, ภาพประเพณีไทย การ์ตูน, ภาพประเพณีไทย ภาคใต้, ภาพประเพณีไทย ภาคกลาง, ภาพ วาด ประเพณี ไทย 5, ภาพ วาด ประเพณี ม 6, ภาพ วาด ประเพณี สงกรานต์, ประกวดภาพวาด 2013, ประกวด ภาพ วาด 2556, ภาพ วาด ประกวด วัน แม่, การ ประกวด ภาพ วาด, งาน ประกวด ภาพ วาด
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>
หลายๆ ท่าน หลายโรงเรียนในช่วงนี้ อาจจะกำลังตามหารูปภาพที่จะใช้ในการวาดประกวดใน หัวข้อ "ภาพวาดประกวดประเพณีไทย" เพื่อให้เด็กๆ ได้หัดวาด หัดทำ เพื่อที่จะนำมาใช้ในการประกวดวาดภาพ การแข่งขันเขียนภาพไทยประเพณี ที่กำลังจะมีขึ้นในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ ๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โดยมีการจัดเป็นประจำในทุกๆ ปี และในปีนี้ ก็มีหัวข้อการจัดแข่งขันไว้มากมาย ในครั้งนี้ผมจะขอแบ่งปันรูปภาพต่างๆท่่ใช้ในการประกวด ภาพวาดประกวดประเพณีไทย เพื่อใช้ในการเตรียมตัวนักเรียน หรือ ลูกศิษย์ ของท่าน เพื่อให้มีจินตนาการในการสร้างสรรคืผลงานและ มีความรวดเร็วในการสร้งผลงาน ภาพวาดประกวดประเพณีไทย
"ภาพวาดประกวดประเพณีไทย" |
ด.ช.ภัทรคม กรลักษณ์ อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ ขี่ม้า เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๔ x ๗๔ ซม.
ระดับอายุไม่เกิน ๘ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน
ด.ญ.โสภิดา แก้วสุข อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ นกฮูกตาโต เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๔ x ๗๕ ซม.
ด.ช.ฆรวัณณ์ เอียดแก้ว อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ ตัวฉัน...ฝัน เทคนิค สีชอล์ค ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ระดับอายุไม่เกิน ๘ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง
ด.ญ.ธมน ง้วนประเสริฐ อายุ ๕ ปี ชื่อภาพ นางรำ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๓ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.พรหมพร บุญอาจ อายุ ๖ ปี ชื่อภาพ ผีเสื้อแสนสวย เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ช.ปวีร์ คำภากุล อายุ ๕ ปี ชื่อภาพ มังกร เทคนิค สีชอล์ค ขนาด ๕๑ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.วีรดา ฉัตรชัยการ อายุ ๘ ปี ชื่อภาพ พลังงานของพ่อหลวง เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๗๕ x ๑๑๐ ซม.
ด.ญ.อรญา พิมพา อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ ปิดทองหลวงพ่อโต เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.ทัดตะวัน อินสมตัว อายุ ๖ ปี ชื่อภาพ เด็กหญิงดอกไม้ เทคนิค สีผสม ขนาด ๕๕ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.วิกาวี รัตตมณี อายุ ๗ ปี ชื่อภาพ ชีวิตกับความฝัน เทคนิค สีชอล์คกับสีไม้ ขนาด ๕๕ x ๗๕ ซม.
ระดับอายุ ๙ - ๑๒ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง
ด.ช.ทิวทัศน์ คะนะมะ อายุ ๙ ปี ชื่อภาพ ประเพณีบุญผะเหวด เทคนิค สีเมจิก สีไม้ สีอะครีลิก ขนาด ๘๐x ๑๑๒ ซม.
ระดับอายุ ๙ - ๑๒ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน
ด.ช.สิรภัทร เบญจชย อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ ชีวิตพอเพียง เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๕ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.ธัญวรัตน์ นุตยางกูร อายุ ๙ ปี ชื่อภาพ ฉันนอนกับแม่ เทคนิค สีผสม ขนาด ๕๕ x ๗๖ ซม.
ระดับอายุ ๙ - ๑๒ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง
ด.ญ.จิดาภา ตรงศิริวิบูลย์ อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ เมืองไทยวันนี้ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๓๗.๕ x ๕๕ ซม.
ด.ญ.ธันยพร สุขโต อายุ ๙ ปี ชื่อภาพ เวียนเทียน ๒ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.กิตติยา พาระวัน อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ เที่ยวเมืองหลวง เทคนิค สีโปสเตอร์ สีหมึก ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.แคทรีน วิสุนราช อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ ดำน้ำ เทคนิค สีชอล์ค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๗๔ ซม.
ด.ญ.ณัฐริกา แจ้งแสง อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ รามเกียรติ์ ตอนประเทศไทย ๒๕๕๑ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.
ด.ญ.ปทิตตา กาญจนะปริชาติ อายุ ๑๐ ปี ชื่อภาพ จับปลา ๑ เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๕๕ x ๗๕ ซม.
ด.ญ.อรอุมา ปัญจมาศ อายุ ๑๑ ปี ชื่อภาพ อพาร์ทเมนท์ ๒ เทคนิค ภาพพิมพ์กระดาษและเขียนสีชอล์ค ขนาด ๗๐ x ๑๐๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๓ - ๑๖ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง
นายจักรพงษ์ เทพเกาะ อายุ ๑๕ ปี ชื่อภาพ หุ่นไล่กา เทคนิค แกะไม้ระบายสี ขนาด ๙๐ x ๑๒๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๓ - ๑๖ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน
ด.ญ.หทัยวรรณ เทพมาลี อายุ ๑๔ ปี ชื่อภาพ ความศรัทธา เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม.
น.ส.นริศรา จิโรจนนุกุล อายุ ๑๖ ปี ชื่อภาพ ประจัญบาน เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๓ - ๑๖ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง
ด.ญ.ทักษพร กล้ากสิกิจ อายุ ๑๔ ปี ชื่อภาพ ให้พร เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๘๐ x ๑๑๐ ซม.
นายทศพร กลันพล อายุ ๑๖ ปี ชื่อภาพ ภูมิปัญญา เทคนิค สีน้ำมัน ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
นายพัลลภ วงศ์วิไลพิสิฐ อายุ ๑๕ ปี ชื่อภาพ แทนพระคุณ เทคนิค สีโปสเตอร์ ขนาด ๕๖ x ๖๗.๕ ซม.
นายอธิศ มณีนพผล อายุ ๑๖ ปี ชื่อภาพ “แม่”...ของฉัน เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๙๐ x ๑๒๐ ซม.
นายเอก รอดเมฆ อายุ ๑๕ ปี ชื่อภาพ ในกรง เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๗๐ x ๑๐๐ ซม.
ด.ญ.ชนิดา สงวนเผ่า อายุ ๑๔ ปี ชื่อภาพ ในจินตนาการ เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๗๖ x ๑๑๒ ซม.
น.ส.มาริสา เดชจำเริญ อายุ ๑๕ ปี ชื่อภาพ แห้งแล้ง เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๑๙ x ๓๐ x ๑๐๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๗ - ๒๐ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง
นายพุรพล โซโต้หยิน อายุ ๑๘ ปี ชื่อภาพ พฤติกรรมเลียนแบบ เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๗ - ๒๐ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน
นายนิพนธ์ พรมสุภา อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ ที่พึ่ง (หยุด) เทคนิค สีน้ำมัน ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
นายกฤตธี นันทิทัศน์ อายุ ๑๘ ปี ชื่อภาพ แก็งค์ราตรี เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๙๐ x ๑๒๐ ซม.
ระดับอายุ ๑๗ - ๒๐ ปี รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง
นายอภินันท์ เกตุกูล อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ ฟักทอง เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๑๐๕ x ๑๒๐ ซม.
นายศิลปากร มณีรัตน์ อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ อย่าให้เขามาเชิดเรา เทคนิค สีน้ำมัน ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
นายอดิศักดิ์ ภักดีนอก อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ บันควาย เทคนิค แกะไม้ ลงสี ขนาด ๙๐ x ๑๒๐ ซม.
นายพัฒนชัย วรรณพัฒน์ อายุ ๑๘ ปี ชื่อภาพ ภัยสังคม (๒๕๕๑) เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๘๐ x ๑๒๐ ซม.
น.ส.จุไฬรัตน์ ขันขยัน อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ ลุ้นระทึก เทคนิค สีอะครีลิก ขนาด ๑๐๐ x ๑๒๐ ซม.
น.ส.ภัทรริญญา พรมผอง อายุ ๑๙ ปี ชื่อภาพ Me เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๘๐ x ๑๒๐ ซม.
นายสรายุทธ สิงห์ประเสริฐ อายุ ๑๗ ปี ชื่อภาพ ย้อนรอยอดีต เทคนิค สื่อผสม ขนาด ๑๒๐ x ๑๒๐ ซม.
อ้างอิงที่มารูปภาพ : http://atcloud.com/stories/55229
คำค้นหา
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย, ภาพวาด, ประกวดประเพณีไทย, ภาพประเพณีไทย, ภาพวาด3มิติ, ภาพวาดเหมือนจริง, ภาพวาดที่สวยที่สุดในโลก, ภาพวาดการ์ตูน, ภาพวาดสวยๆ, ภาพวาดสามมิติ, ภาพวาดทราย, ภาพวาดวันสุนทรภู่, ภาพวาดสุนทรภู่, ภาพวาดสีน้ํา, ภาพวาดระบายสี, ภาพวาดลายเส้น, ภาพวาดดอกไม้, ภาพวาดของศิลปิน, ภาพวาดพระอภัยมณี, ภาพวาดปลาคาร์ฟ, ภาพวาดธรรมชาติ, ภาพวาดอาร์ตๆ, ภาพวาดยาเสพติด, ภาพวาดศิลปะ, ภาพวาดสีน้ํามัน, ภาพวาด 3 มิติ, ภาพวาด อ.เฉลิมชัย, ภาพวาดสีน้ำมัน, ภาพวาดพื้นถนน 3 มิติ, ภาพวาด3มิติ พัทยา, ภาพประเพณีไทย 4 ภาค, ภาพประเพณีไทย การ์ตูน, ภาพประเพณีไทย ภาคใต้, ภาพประเพณีไทย ภาคกลาง, ภาพ วาด ประเพณี ไทย 5, ภาพ วาด ประเพณี ม 6, ภาพ วาด ประเพณี สงกรานต์, ประกวดภาพวาด 2013, ประกวด ภาพ วาด 2556, ภาพ วาด ประกวด วัน แม่, การ ประกวด ภาพ วาด, งาน ประกวด ภาพ วาด
คำค้นหา ประเพณีไทย :
ประเพณีไทย,
ภาพประเพณีไทยประกวด ภาพ วาด 2557,
ภาพวาด,
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย
วัฒนธรรมด้านประเพณีไทย
ประเพณีไทย คือ ระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติที่เห็นว่าดีกว่าถูกต้องกว่า หรือ เป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่ในสังคมไทย และมีการปฏิบัติสืบต่อ ๆ กันมา เช่น การเกิด การตาย การหมั้นหมาย สมรส บวช ปลูกบ้านใหม่ ขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น ประเภทของประเพณีไทยนั้นมี ๔ ประเภท ได้แก่
๑. ประเพณีไทยปรัมปรา หมายถึง ประเพณีที่เก่าก่อน ราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า สืบ ๆ กันมา เก่าก่อน มีมานาน เช่น นิยายปรัมปราต่าง ๆ อาทิ โรบินฮูดแห่งป่าเชอร์วูดที่ช่วยคนจน ของฝรั่ง
๒. จารีตประเพณีไทย หรือ กฎศีลธรรม (Mores) หมายถึง ประเพณีไทยที่มีศีลธรรมเข้ามาร่วมด้วยจึงเป็นกฎที่มีความสำคัญต่อสวัสดิภาพของสังคมสังคมไทย บังคับให้ปฏิบัติตาม เป็นเรื่องความผิดความถูก ความนิยมที่ยึดถือและถ่ายทอดสืบต่อกันมา เช่น การเล่นชู้ ถือว่าประพฤติชั่วไม่เหมาะสม ผิดศีลธรรม เป็นต้น
๓. ขนบประเพณีไทย (Thai Institution) หมายถึง ระเบียบ แบบแผน ที่สังคมตั้งขึ้น กำหนดไว้ให้ปฏิบัติร่วมกันทั้งทางตรง และทางอ้อม ทางตรง ได้แก่ ประเพณีที่มีการกำหนดเป็นระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติอย่างชัดแจ้งว่าบุคคลต้องปฏิบัติอย่างไร เข่น การไหว้ครู การศึกษาเล่าเรียน ศาสนา เป็นต้น โดยอ้อม ก็คือประเพณีที่รู้กันโดยทั่วไป โดยไม่ได้วางระเบียบไว้แน่นอน แต่ปฏิบัติได้ เพราะมีการบอกเล่าสืบต่อกันมา หรือจากการที่ผู้ใหญ่หรือบุคคลอื่นปฏิบัติ เช่น แห่นางแมว การจุดบ้องไฟของภาคอีสาน เป็นต้น
๔. ธรรมเนียมประเพณีไทย (Thai Convention) หมายถึง ประเพณีไทยที่เกี่ยวกับเรื่องธรรมดา ๆ ไม่มีระเบียบแบบแผนเหมือนขนบธรรมเนียมประเพณีไทย หรือมีความผิดความถูกเหมือนจารีตประเพณี ดังนั้น ธรรมเนียมประเพณีไทยไม่ปฏิบัติตามก็ไม่ผิดหรือมีโทษ เป็นแต่เพียงคนส่วนใหญ่ปฏิบัติกัน และเราก็ปฏิบัติตาม แต่อาจจะไม่เหมือนกับอีกหลายสังคมเป็นเพียงธรรมเนียมของสังคมนั้น ๆ ปฏิบัติกัน เช่น ไทยใช้ช้อนส้อมในการรับประทานอาหาร ฝรั่งใช้มีดกับส้อม เป็นต้น
ประเพณีไทย
เอกลักษณ์ของไทย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานไว้คือไทยแท้ ^^
คำค้นหา ประเพณีไทย :
ขนบธรรมเนียม,
ประเพณี,
ประเพณีไทย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
เศรษฐกิจพอเพียง
วาดรูปเศรษฐกิจพอเพียง
ประเพณีไทย
ประเพณีไทย
Presented by anirud ประเพณีไทย on Nov 01 2012
Rating: 5
เกี่ยวกับเรา ประเพณีไทย
เข้าร่วม Google+ ประเพณีไทย
ประเพณีไทย โดย anirud
Presented by anirud ประเพณีไทย on Nov 01 2012
Rating: 5
ความรู้ ประเพณีไทย
-
เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง การทำงานในสภาพปัจจุบันต้องแข่งขันกันทั้งด้านคุณภาพและเวลา การทำงานจริงจึงไม่มีเวลา...
-
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย ห ลายๆ ท่าน หลายโรงเรียนในช่วงนี้ อาจจะกำลังตามหารูปภาพที่จะใช้ในการวาดประกวดใน หัวข้อ " ภาพวาดประกวดประเพณี...
-
ประเพณีไทย ประเพณีไทย ประเทศไทยมีวัฒนธรรมและประเพณี ต่าง ๆ ที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่โบราณ เช่น พิธีกรรมทางศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นพิธีกรรมท...
-
เรียงความ ประเพณี ไทย การเขียนเรียงความในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับประเพณีไทย ก่อนที่เราจะเขียนในหัวข้อนี้ออกมาได้ และทำให้ผู้ที่อ่านเรียงควา...
-
ประเพณีไทย ประเพณีไทย หมายถึง กิจกรรมที่มีการกระทำสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์ของไทยพร้อมทั้งมีความสำคัญต่อสังคมไทย เช่น...
-
การวาดภาพระบายสี การวาดภาพระบายสี 1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน - เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 1 – ป. 3 - เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 4 – ป....
-
ศิลป์สร้างสรรค์ การแข่งขัน “ ศิลป์สร้างสรรค์” 1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน - เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 1 – ป. 3 - เป็นนักเรียนระดั...
-
ประโยชน์ของศิลปะ ประโยชน์ของศิลปะ - ได้รู้จักกับตัวเองมากขึ้น คล้ายกับการได้คุยกับตนเองในอดีต ได้ทบทวนเรื่องราวในอดีตของตัวเอง - ได...
-
เกณฑ์การแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ปีการศึกษา 2557 >>> เกณฑ์การแข่งขันล่าสุด <<< งานศิ...
-
ประโยชน์ของดนตรี ประโยชน์ของดนตรี ดนตรี คำว่าดนตรีนั้นมีความหมายมากมายแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละบุคคลแต่ดิฉันให้ความหมายของ...
คำค้นหา ประเพณีไทย
กลอนประเพณีผูกเสี่ยว
(1)
การประสมวงดนตรีไทย
(1)
การรักษาสัมพันธภาพ
(1)
การละเล่นไทย
(3)
การละเล่นพื้นบ้านมะโย่ง
(1)
การละเล่นภาคใต้
(1)
การละเล่นว่าว
(1)
การเล่นโพงพาง
(1)
การเล่นว่าว
(1)
การเล่นว่าวไทย
(1)
การวาดภาพ
(1)
การ วาด ภาพ ระบายสี โปสเตอร์การ
(1)
การสร้างสัมพันธภาพ
(1)
การอยู่ร่วมกัน
(1)
การอยู่ร่วมกันในสังคม
(2)
เกณฑ์การแข่งขัน
(1)
เกษตรแบบผสมผสาน
(1)
ขนบธรรมเนียม
(2)
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
(1)
เขียนเรียงความ
(1)
แข่งขันดนตรีไทย
(1)
แข่งขันเรือยาว
(2)
แข่งขันเรือยาว สกลนคร 2557
(1)
แข่งดนตรีไทย
(1)
ครอบครัวพอเพียง
(1)
ครอบครัวพอเพียง เรียงความ
(1)
ความคิดและการแสดงออก
(1)
ความเป็นไทย
(1)
ความเป็นมาเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
คำกลอนประเพณีบุญบั้งไฟ
(1)
คำขวัญวันเด็ก
(1)
คำขวัญวันเด็ก 2559
(1)
โคมลอย
(1)
งานศพ
(1)
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
(1)
ดนตรี
(1)
ดนตรีไทย
(2)
ทหารเรือ
(1)
ทักษะการเขียนเรียงความ
(1)
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ
(1)
ทันตแพทย์ในดวงใจ
(1)
ทำขวัญ
(1)
ธรรมเนียมประเพณีของทหารเรือ
(1)
บทความเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
บ้านน้ำจั้น
(1)
บุญข้าวประดับดิน
(1)
บุญข้าวสาก
(1)
บุญเดือน 9
(1)
บุญบั้งไฟ
(1)
ประเพณี
(6)
ประเพณีกำฟ้า
(1)
ประเพณีแข่งขันเรือยาว
(1)
ประเพณีทหารเรือ
(1)
ประเพณีทำขวัญ
(1)
ประเพณีทำขวัญแม่โพสพ
(1)
ประเพณี ไทย
(9)
ประเพณีไทยไทย
(1)
ประเพณีบุญบั้งไฟ
(1)
ประเพณีบุญบั้งไฟ 2557
(1)
ประเพณีผูกเสี่ยว
(1)
ประเพณีภาคกลาง
(1)
ประเพณีภาคใต้
(1)
ประเพณีภาคเหนือ
(1)
ประเพณียี่เป็ง
(1)
ประเพณีลอยกระทง
(1)
ประโยชน์ของดนตรี
(1)
ประโยชน์ของศิลปะ
(1)
ประโยชน์ดนตรี
(1)
ประวัติ เพลงชาติไทย
(1)
ปรัชญา
(1)
ผูกเสี่ยว
(1)
พระราชดำรัส
(1)
พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(1)
พอเพียง
(3)
พิธีจัดงานศพ
(1)
เพลงแข่งขันวงดนตรีไทย
(1)
เพลงชาติไทย
(1)
ภาพประเพณีไทยประกวด ภาพ วาด 2557
(1)
ภาพวาด
(1)
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย
(1)
ภูมิปัญญาชาวบ้าน
(3)
ภูมิปัญญาชาวบ้านปัจจุบัน
(1)
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
(3)
ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย
(1)
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน
(1)
ภูมิปัญญาไทย
(1)
มโหรี
(1)
มโหรีพื้นบ้าน
(1)
มะโย่ง
(1)
ระดับประเทศ
(1)
ระเบียบประเพณีไทย
(1)
เรียงความ
(3)
เรียงความ ประเพณี ไทย
(2)
เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง
(2)
เรียนวาดภาพ
(1)
เรือยาวสกลนคร
(1)
โรงเรียน
(1)
ลอยกระทง
(1)
ลอยกระทงภาคเหนือ
(1)
ลาวบุญคูนข้าว
(1)
วงมโหรีพื้นบ้าน
(1)
วันเด็ก 2559
(1)
วันเด็กแห่งชาติ
(1)
วันที่ห้ามเผาศพ
(1)
วันผีกิน
(1)
วันลอยกระทง
(1)
วาดภาพระบายสีเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
ว่าว
(1)
ว่าวควาย
(1)
ว่าวจุฬา
(1)
ว่าวไทย
(1)
ว่าวปักเป้า
(1)
ว่าว ภาษาอังกฤษ
(1)
ศิลป์สร้างสรรค์
(1)
ศิลป์สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้
(1)
ศิลปหัตถกรรม 2557
(1)
ศิลปหัตถกรรม 64
(1)
ศิลปะ
(4)
ศิลปะกับมนุษย์
(1)
ศิลปะในสังคมไทย
(4)
ศิลปะบำบัด
(3)
ศิลปะบำบัดพื้นฐาน
(2)
ศิลปะเพื่อชีวิต
(1)
ศิลปะเพื่อสุขภาพ
(1)
เศรษฐกิจพอเพียง
(8)
เศรษฐกิจพอเพียง คือ
(1)
เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียน
(1)
สกลนคร 2557
(1)
สมัยกรุงสุโขทัย
(1)
สอนวาดภาพ
(1)
สังคม
(1)
สัปเหร่อ
(1)
สัมพันธภาพ
(1)
สัมพันธภาพกับผู้อื่น
(1)
สัมพันธภาพที่ดี
(1)
สืบทอดวัฒนธรรม
(1)
หลักการอยู่ร่วมกัน
(1)
แห่ดาว
(1)
แห่ดาว ท่าแร่
(1)
แห่ดาว สกลนคร
(1)
อนุรักษ์
(1)
อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
(1)
เอกลักษณ์ไทย
(1)