Mohon Aktifkan Javascript!Enable JavaScript
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ประเพณี แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ประเพณี แสดงบทความทั้งหมด
วัฒนธรรมด้านประเพณีไทย
ประเพณีไทย คือ ระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติที่เห็นว่าดีกว่าถูกต้องกว่า หรือ เป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่ในสังคมไทย และมีการปฏิบัติสืบต่อ ๆ กันมา เช่น การเกิด การตาย การหมั้นหมาย สมรส บวช ปลูกบ้านใหม่ ขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น ประเภทของประเพณีไทยนั้นมี ๔ ประเภท ได้แก่
๑. ประเพณีไทยปรัมปรา หมายถึง ประเพณีที่เก่าก่อน ราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า สืบ ๆ กันมา เก่าก่อน มีมานาน เช่น นิยายปรัมปราต่าง ๆ อาทิ โรบินฮูดแห่งป่าเชอร์วูดที่ช่วยคนจน ของฝรั่ง
๒. จารีตประเพณีไทย หรือ กฎศีลธรรม (Mores) หมายถึง ประเพณีไทยที่มีศีลธรรมเข้ามาร่วมด้วยจึงเป็นกฎที่มีความสำคัญต่อสวัสดิภาพของสังคมสังคมไทย บังคับให้ปฏิบัติตาม เป็นเรื่องความผิดความถูก ความนิยมที่ยึดถือและถ่ายทอดสืบต่อกันมา เช่น การเล่นชู้ ถือว่าประพฤติชั่วไม่เหมาะสม ผิดศีลธรรม เป็นต้น
๓. ขนบประเพณีไทย (Thai Institution) หมายถึง ระเบียบ แบบแผน ที่สังคมตั้งขึ้น กำหนดไว้ให้ปฏิบัติร่วมกันทั้งทางตรง และทางอ้อม ทางตรง ได้แก่ ประเพณีที่มีการกำหนดเป็นระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติอย่างชัดแจ้งว่าบุคคลต้องปฏิบัติอย่างไร เข่น การไหว้ครู การศึกษาเล่าเรียน ศาสนา เป็นต้น โดยอ้อม ก็คือประเพณีที่รู้กันโดยทั่วไป โดยไม่ได้วางระเบียบไว้แน่นอน แต่ปฏิบัติได้ เพราะมีการบอกเล่าสืบต่อกันมา หรือจากการที่ผู้ใหญ่หรือบุคคลอื่นปฏิบัติ เช่น แห่นางแมว การจุดบ้องไฟของภาคอีสาน เป็นต้น
๔. ธรรมเนียมประเพณีไทย (Thai Convention) หมายถึง ประเพณีไทยที่เกี่ยวกับเรื่องธรรมดา ๆ ไม่มีระเบียบแบบแผนเหมือนขนบธรรมเนียมประเพณีไทย หรือมีความผิดความถูกเหมือนจารีตประเพณี ดังนั้น ธรรมเนียมประเพณีไทยไม่ปฏิบัติตามก็ไม่ผิดหรือมีโทษ เป็นแต่เพียงคนส่วนใหญ่ปฏิบัติกัน และเราก็ปฏิบัติตาม แต่อาจจะไม่เหมือนกับอีกหลายสังคมเป็นเพียงธรรมเนียมของสังคมนั้น ๆ ปฏิบัติกัน เช่น ไทยใช้ช้อนส้อมในการรับประทานอาหาร ฝรั่งใช้มีดกับส้อม เป็นต้น
ประเพณีไทย
เอกลักษณ์ของไทย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานไว้คือไทยแท้ ^^
คำค้นหา ประเพณีไทย :
ขนบธรรมเนียม,
ประเพณี,
ประเพณีไทย
ประเพณีไทย
ประเพณีไทย |
ประเพณีไทย หมายถึง กิจกรรมที่มีการกระทำสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์ของไทยพร้อมทั้งมีความสำคัญต่อสังคมไทย เช่น การแต่งกาย ภาษา วัฒนธรรมไทย ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ คุณธรรม ความเชื่อ ฯลฯ เป็นกฎระเบียบในการประปฏิบัติตนและ การวางตนระหว่างบุคคลในสังคม ตัวอย่างเช่น มารยาทในห้องรับประทานอาหาร ประเพณีไทย นั้นให้ความสำคัญในการให้ความสำคัญกับผู้อาวุโส ผู้น้อยต้องรู้จักมี สัมมาคารวะให้ความเคารพผู้หลักผู้ใหญ่ เช่น เด็กนักเรียนต้องให้ความเคารพครูบาอาจารย์
ประเพณีล้วนได้รับอิทธิพลมาจากภาวะแวดล้อมภายนอกที่เข้าสู่สังคม รับเอาแบบปฏิบัติที่หลากหลายเข้ามาผสมผสานในการดำรงชีวิตประเพณีจึงเรียกได้ว่าเป็น วิถีแห่งการดำเนินชีวิตของสังคม โดยเฉพาะพระศาสนา ซึ่งมีอิทธิพลต่อประเพณีไทยมากที่สุด วัดวาอารามต่างๆ ในประเทศไทยสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย และชี้ให้เห็นว่าคนไทยให้ความสำคัญในการบำรุงพระพุทธศาสนาด้วยศิลปกรรมที่ งดงามเพื่อใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาตั้งแต่สมัยโบราณ ฯลฯ
คำว่า “ประเพณี” ตามพจนานุกรมภาษาไทยฉบับบัณฑิตยสถาน ได้กำหนดความหมายประเพณีไว้ว่า ประเพณี คือ ขนบธรรมเนียมแบบแผน ซึ่งสามารถแยกคำต่างๆ ออกได้เป็น ขนบ มีความหมายว่า ระเบียบแบบอย่าง ธรรมเนียม มีความหมายว่า ที่นิยมใช้กันมา และเมื่อนำมารวมกันแล้วก็มีความหมายว่า ความประพฤติที่คนส่วนใหญ่ ยึดถือเป็นแบบแผน และได้ทำการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนเป็นต้นแบบที่จะให้คนรุ่นต่อๆ ไปได้ประพฤติปฏิบัติตามกันต่อไป
ดังนั้น ขนบธรรมเนียม หมายความว่า ความประพฤติที่คนส่วนใหญ่ ยึดถือเป็นแบบแผน และได้ทำการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนเป็นต้นแบบที่จะให้คนรุ่นต่อๆ ไปได้ประพฤติปฏิบัติตามกันต่อไป
ประเพณีไทย นั้นเป็นประเพณีที่ได้อิทธิพลอย่างสูงจากพระพุทธศาสนา และอิทธิพลจากศาสนาอื่นเช่น ศาสนาพราหมณ์ และการอพยพของชาวต่างชาติ ตัวอย่างเช่น ชาวจีนก็มีอิทธิพลของประเพณีไทย
ประเพณีไทยนั้นสามารถแบ่งออกเป็นสามด้านใหญ่ๆ ได้แก่ ภาษา, ศิลปะ และประเพณี
ภาษาไทย เป็นภาษาประจำชาติของคนไทย ตัวอักษรของภาษาไทยถูกสร้างขึ้นในสมัยพ่อขุนรามคำแหงในปี ค.ศ. 1283 ตัวอักษรของภาษาไทยได้รับอิทธิพลมาจากภาษาบาลี และสันสกฤต จากสื่อขอมโบราณ ในปัจจุบันภาษาไทยประกอบด้วยตัวอักษร 44ตัว (สี่สิบสี่ตัว) ภาษาไทยมีห้าโทนเสียง คือ สามัญ, เอก, โท, ตรี, จัตวา ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น เช่น ภาษาอังกฤษ คำว่า บ่า กับ บ้า นั้นมีความที่แตกต่างกัน ภาษาไทยในปัจจุบันได้รับอิทธพลมาจากภาษาต่างๆ ทั่วโลกเช่น บาลี, ขอม, มาเล, ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน
ศิลปะไทย นั้นได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากพระเจ้าแผ่นดินและชาววังแต่ครั้งโบราณ ประเพณีการสร้างภาพวาดฝาหนัง ก็ยังถูกนิยมมาใช้เพื่อเล่าเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับ พิธีกรรมทางการศาสนา
ตั้งแต่สมัยโบราณคนไทยให้ความสำคัญกับพระพุทธศาสนา จะเห็นได้ว่าคนไทยจากสมัยโบราณจนถึงปัจจุบันนิยม สร้างสิ่งก่อสร้าง ในทางพระพุทธศาสนา เช่น เจดีย์,วัด,หรือสถูป โดยสิ่งปลูกสร้าง ทางพระพุทธศาสนาเหล่านี้นิยม ใช้ในพิธีกรรมที่สำคัญต่างๆในชุมชน เช่น วัดมักนิยมเป็นที่จัดงานประจำปี นอกจากนี้แล้ววัดจึงเป็นจุดศูนย์กลางของหมู่บ้าน เป็นสถานที่เรียนหนังสือกับเยาวชนและประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
ภาษาบาลีนั้น คำว่าเจดีย์ หมายความว่า จิตใจหรือ เครื่องระลึกเตือนใจ คำว่าสถูปนั้น หมายความว่า เดือน สิ่งปลูกสร้างเหล่านี้ถูกสร้างมาเพื่อต้องการ ให้รำลึกถึงความเชื่อใน พระพุทธศาสนาที่ว่าสังขารของคนนั้นไม่เที่ยงแท้ เมื่อมีการเกิดก็ย่อมต้องมีวันแตกดับได้เป็นไปตามปัจจัยของโลก คนสมัยก่อนจึงมีประเพณีนิยมสร้างเจดีย์ใน วัดเพื่อเตือนใจคนในสังคมไม่ให้ทำความชั่ว และหมั่นสร้างความดีเพื่อเป็นคุณประโยชน์ต่อตนเองและสังคมในภพนี้และภพหน้า
เจดีย์ยังนิยมให้สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิของพระพุทธรูป หากบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้าหรือ ของพระมหากษัตริย์นั้นก็จะเรียกว่าธาตุเจดีย์
ประเพณีไทย เป็นขนบธรรมเนียมอันดีงามที่สืบทอดต่อกันมา ล้วนแตกต่างกันไปตามความเชื่อ ความผูกพันของผู้คนต่อพุทธศาสนา และการดำรงชีวิตที่สอดประสานกับฤดูกาลและ ธรรมชาติอย่างชาญฉลาดของชาวบ้านในแต่ละท้องถิ่น ทั่วแผ่นดินไทย เช่น
ภาคเหนือ ประเพณีบวชลูกแก้วของคนไต หรือชาวไทยใหญ่ที่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ภาคอีสาน ประเพณีบุญบั้งไฟ ของชาวจังหวัดยโสธร
ภาคกลาง ประเพณีทำขวัญข้าว ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภาคใต้ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช ฯลฯ
ประเพณี และอารยธรรมไทยยังนำมาซึ่งการท่องเที่ยว และเป็นที่รู้จักและประทับใจแก่ชาติอื่น นับเป็นมรดกอันล้ำค่าที่เราคนไทยควรอนุรักษ์ และสืบสานให้ยาวนานตลอดไป
ประเพณีล้วนได้รับอิทธิพลมาจากภาวะแวดล้อมภายนอกที่เข้าสู่สังคม รับเอาแบบปฏิบัติที่หลากหลายเข้ามาผสมผสานในการดำรงชีวิตประเพณีจึงเรียกได้ว่าเป็น วิถีแห่งการดำเนินชีวิตของสังคม โดยเฉพาะพระศาสนา ซึ่งมีอิทธิพลต่อประเพณีไทยมากที่สุด วัดวาอารามต่างๆ ในประเทศไทยสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย และชี้ให้เห็นว่าคนไทยให้ความสำคัญในการบำรุงพระพุทธศาสนาด้วยศิลปกรรมที่ งดงามเพื่อใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาตั้งแต่สมัยโบราณ ฯลฯ
คำว่า “ประเพณี” ตามพจนานุกรมภาษาไทยฉบับบัณฑิตยสถาน ได้กำหนดความหมายประเพณีไว้ว่า ประเพณี คือ ขนบธรรมเนียมแบบแผน ซึ่งสามารถแยกคำต่างๆ ออกได้เป็น ขนบ มีความหมายว่า ระเบียบแบบอย่าง ธรรมเนียม มีความหมายว่า ที่นิยมใช้กันมา และเมื่อนำมารวมกันแล้วก็มีความหมายว่า ความประพฤติที่คนส่วนใหญ่ ยึดถือเป็นแบบแผน และได้ทำการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนเป็นต้นแบบที่จะให้คนรุ่นต่อๆ ไปได้ประพฤติปฏิบัติตามกันต่อไป
ดังนั้น ขนบธรรมเนียม หมายความว่า ความประพฤติที่คนส่วนใหญ่ ยึดถือเป็นแบบแผน และได้ทำการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนเป็นต้นแบบที่จะให้คนรุ่นต่อๆ ไปได้ประพฤติปฏิบัติตามกันต่อไป
ประเพณีไทย นั้นเป็นประเพณีที่ได้อิทธิพลอย่างสูงจากพระพุทธศาสนา และอิทธิพลจากศาสนาอื่นเช่น ศาสนาพราหมณ์ และการอพยพของชาวต่างชาติ ตัวอย่างเช่น ชาวจีนก็มีอิทธิพลของประเพณีไทย
ประเพณีไทยนั้นสามารถแบ่งออกเป็นสามด้านใหญ่ๆ ได้แก่ ภาษา, ศิลปะ และประเพณี
ภาษาไทย เป็นภาษาประจำชาติของคนไทย ตัวอักษรของภาษาไทยถูกสร้างขึ้นในสมัยพ่อขุนรามคำแหงในปี ค.ศ. 1283 ตัวอักษรของภาษาไทยได้รับอิทธิพลมาจากภาษาบาลี และสันสกฤต จากสื่อขอมโบราณ ในปัจจุบันภาษาไทยประกอบด้วยตัวอักษร 44ตัว (สี่สิบสี่ตัว) ภาษาไทยมีห้าโทนเสียง คือ สามัญ, เอก, โท, ตรี, จัตวา ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น เช่น ภาษาอังกฤษ คำว่า บ่า กับ บ้า นั้นมีความที่แตกต่างกัน ภาษาไทยในปัจจุบันได้รับอิทธพลมาจากภาษาต่างๆ ทั่วโลกเช่น บาลี, ขอม, มาเล, ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน
ศิลปะไทย นั้นได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากพระเจ้าแผ่นดินและชาววังแต่ครั้งโบราณ ประเพณีการสร้างภาพวาดฝาหนัง ก็ยังถูกนิยมมาใช้เพื่อเล่าเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับ พิธีกรรมทางการศาสนา
ตั้งแต่สมัยโบราณคนไทยให้ความสำคัญกับพระพุทธศาสนา จะเห็นได้ว่าคนไทยจากสมัยโบราณจนถึงปัจจุบันนิยม สร้างสิ่งก่อสร้าง ในทางพระพุทธศาสนา เช่น เจดีย์,วัด,หรือสถูป โดยสิ่งปลูกสร้าง ทางพระพุทธศาสนาเหล่านี้นิยม ใช้ในพิธีกรรมที่สำคัญต่างๆในชุมชน เช่น วัดมักนิยมเป็นที่จัดงานประจำปี นอกจากนี้แล้ววัดจึงเป็นจุดศูนย์กลางของหมู่บ้าน เป็นสถานที่เรียนหนังสือกับเยาวชนและประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
ภาษาบาลีนั้น คำว่าเจดีย์ หมายความว่า จิตใจหรือ เครื่องระลึกเตือนใจ คำว่าสถูปนั้น หมายความว่า เดือน สิ่งปลูกสร้างเหล่านี้ถูกสร้างมาเพื่อต้องการ ให้รำลึกถึงความเชื่อใน พระพุทธศาสนาที่ว่าสังขารของคนนั้นไม่เที่ยงแท้ เมื่อมีการเกิดก็ย่อมต้องมีวันแตกดับได้เป็นไปตามปัจจัยของโลก คนสมัยก่อนจึงมีประเพณีนิยมสร้างเจดีย์ใน วัดเพื่อเตือนใจคนในสังคมไม่ให้ทำความชั่ว และหมั่นสร้างความดีเพื่อเป็นคุณประโยชน์ต่อตนเองและสังคมในภพนี้และภพหน้า
เจดีย์ยังนิยมให้สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิของพระพุทธรูป หากบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้าหรือ ของพระมหากษัตริย์นั้นก็จะเรียกว่าธาตุเจดีย์
ประเพณีไทย เป็นขนบธรรมเนียมอันดีงามที่สืบทอดต่อกันมา ล้วนแตกต่างกันไปตามความเชื่อ ความผูกพันของผู้คนต่อพุทธศาสนา และการดำรงชีวิตที่สอดประสานกับฤดูกาลและ ธรรมชาติอย่างชาญฉลาดของชาวบ้านในแต่ละท้องถิ่น ทั่วแผ่นดินไทย เช่น
ภาคเหนือ ประเพณีบวชลูกแก้วของคนไต หรือชาวไทยใหญ่ที่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ภาคอีสาน ประเพณีบุญบั้งไฟ ของชาวจังหวัดยโสธร
ภาคกลาง ประเพณีทำขวัญข้าว ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภาคใต้ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช ฯลฯ
ประเพณี และอารยธรรมไทยยังนำมาซึ่งการท่องเที่ยว และเป็นที่รู้จักและประทับใจแก่ชาติอื่น นับเป็นมรดกอันล้ำค่าที่เราคนไทยควรอนุรักษ์ และสืบสานให้ยาวนานตลอดไป
ประเพณีไทย
เอกลักษณ์ของไทย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานไว้คือไทยแท้ ^^
คำค้นหา ประเพณีไทย :
ประเพณี,
ประเพณีไทย,
ประเพณีไทยไทย,
เอกลักษณ์ไทย
ประเพณีไทย การเล่นโพงพาง
การเล่นโพงพาง เล่นได้ไม่จำกัดจำนวนผู้เล่น
วิธีเล่น
เลือกคนที่เป็นปลา โดยการจับไม้สั้นไม้ยาว เอาผ้าผูกตาคนที่เป็นปลา แล้วหมุน 3 รอบ ผู้เล่นคนอื่นๆ ล้อมวงจับมือกันเดินเป็นวงกลม ผู้เป็นโพงพางจะถูกปิดตาอยู่ตรงกลาง เด็กจะท่องกลอน พร้อมร้องเพลงประกอบ "โพงพางเอย ปลาเข้าลอด ปลาตาบอด เข้าลอดโพงพาง" และถามว่า "ปลาเป็นหรือปลาตาย" ถ้าตอบว่า "ปลาเป็น" เพื่อนก็เคลื่อนที่ได้ ถ้าตอบว่า "ปลาตาย" เพื่อนต้องนั่งอยู่กับที่ โพงพางก็จับเพื่อนเพื่อทายชื่อ (ผู้ที่เป็นปลา ซึ่งถูกปิดตาจะต้องทายว่า ผู้ที่ถูกจับได้เป็นใคร ชื่ออะไร) ถ้าทายชื่อผิด ก็ต้องเป็นโพงพางต่อ นี่คือประเพณีการเล่นโพงพาง
บทร้องประกอบ
"โพงพางเอย ปลาเข้าลอด
ปลาตาบอด เข้าลอดโพงพาง
โพงพางเอย นกกระยางเข้าลอด
เสือปลาตาบอด เข้าลอดโพงพาง
กินปลาเป็นหรือกินปลาตาย"
ปลาตาบอด เข้าลอดโพงพาง
โพงพางเอย นกกระยางเข้าลอด
เสือปลาตาบอด เข้าลอดโพงพาง
กินปลาเป็นหรือกินปลาตาย"
ประเพณีไทย
เอกลักษณ์ของไทย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานไว้คือไทยแท้ ^^
คำค้นหา ประเพณีไทย :
การละเล่นไทย,
การเล่นโพงพาง,
ประเพณี,
ประเพณีไทย
ประเพณีไทย การละเล่นของเด็กไทยสะท้อนความเป็นไทย
ประเพณีไทย การละเล่นของเด็กไทยสะท้อนความเป็นไทย
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>
ประเพณีการละเล่นของเด็ก
บทร้องประกอบการเล่น ตลอดจนสิ่งต่าง ๆ ที่เด็ก ๆ
ใช้เป็นของเล่นสะท้อนให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม
และความเชื่อของคนไทยในสมัยก่อนได้อย่างชัดเจน เห็นภาพ ดังต่อไปนี้
ประเพณีไทย การละเล่นของเด็กไทยสะท้อนความเป็นไทย ดังนี้
ภาพของเด็กไทยสมัยก่อน
จากบทร้องล้อเลียน
“ผมจุก คลุกน้ำปลา เป็นขี้หมา นั่งไหว้ กระจ๊องหง่อง” หรือ “ผมแกละ กระแดะใส่เกือก ตกน้ำตาเหลือก
ใส่เกือกข้างเดียว” ก็ทำให้เห็นภาพเด็กสมัยโบราณที่ส่วนใหญ่ไว้ผมจุก
ผมแกละกันทั้งเมือง
ความเป็นอยู่ของผู้ใหญ่
จากบทร้องจ้ำจี้
“สาวสาวหนุ่ม อาบน้ำท่าไหน อาบน้ำท่าวัด” ทำให้นึกภาพของบ้านเรือนสมัยโบราณซึ่งมักอยู่กันริมน้ำ
อาบน้ำกันที่ท่า สัญจรกันด้วยเรือเป็นส่วนใหญ่ หรือการละเล่นชนควายด้วยศรีษะ
ชนควายพร็อกพร้าว เป็นการเลียนแบบการชนควายชนวัวซึ่งเป็นที่นิยมกันมากทางภาคใต้
ส่วนทางภาคอีสานก็มีการละเล่นดึงครกดึงสาก
ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในการทำมาหากินเพื่อดำรงชีพของชาวนา เป็นต้น
สะท้อนการทำมาหากินของคนไทย
มีการละเล่นและบทร้องประกอบการละเล่นหลายอย่างที่กล่าวถึงข้าววัวควายที่ช่วยไถนาและการทำนาอันเป็นอาชีพหลักของคนไทยตั้งแต่โบราณถึงปัจจุบัน
อย่าง รีรีข้าวสาร การเล่นขโมยลักควาย (ทางใต้) นอกจากทำนาแล้วยังมีการค้าขายจับปลา
เช่น เล่นขายแตงโมซึ่งมีบทเจรจา ผู้เล่นสมมติ เป็นแตงโม
มีผู้มาซื้อและพูดกับเจ้าของ โพงพาง มีบทร้องที่ว่า”ปลาตาบอดเข้าอดโพงพาง”
หรือผีสุ่ม กล่าวถึงการจับปลาโดยใช้สุ่ม
ความเชื่อ การละเล่นบางอย่างสะท้อนให้เห็นความเชื่อของชาวไทยในเรื่องไสยศาสตร์
เช่นการละเล่นที่มีการเชิญคนทรงอย่าง แม่ศรี ลิงลม ย่าด้ง เป็นต้น
ทางภาคอีสานจะมีการละเล่นที่สะท้อนความเชื่อหลายอย่างเช่น
เล่นนางดงแล้วจะขอฝนได้สำเร็จ เล่นผีกินเทียนแสดงความเชื่อเรื่องผี
มีทั้งกลัวและอยากลองผสมกัน หรือผีเข้าขวด ซึ่งมีทั้งภาคอีสานและทางภาคใต้
ทางอีสานก็มีเล่นแม่นาคพระโขนง และมะล๊อกก๊อกแก๊ก
ซึ่งเป็นบทโต้ตอบระห่างผู้เล่นที่สมมุติ เป็นผีกับเด็กคนอื่น ๆ
แล้วจบลงที่ผีวิ่งไล่จับเด็กเป็นผีกับเด็กคนอื่น ๆ แล้วจบลงที่ผีวิ่งไล่จับเด็เป็นที่น่าสนุกสนานและ
ตื่นเต้นด้วยความกลัวผีไปพร้อม ๆ กัน
ค่านิยม ในเรื่องของมารยาท
ถือว่าคนมีมารยาทเป็นคนมีบุญ คนที่มารยาททรามเป็นคนอาภัพ ดังในคำร้องจ้ำจี้ว่า
“จ้ำจี้เม็ดขนุน ใครมีบุญได้กินสำรับ
ใครผลุบผลับ ได้กินกะลา (หรือกินรางหมาเน่า)”
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ในครอบครัว มีบทร้องว่าลูกเขยต้องกตัญญูต่อแม่ยาย ในบทเล่นจ้ำจี้อีกบทว่า
“จ้ำจี้ดอกเข็ม มาเล็มดอกหมาก
เป็นครกเป็นสาก ให้แม่ยายตำข้าว
เป็นน้ำเต้า ให้แม่ยายเลียงชด
เป็นชะมด ให้แม่ยายฝนทา ฯลฯ
ค่านิยมที่แม่มีลูกชายก็พาไปบวช ถือเป็นกุศลแก่คนเป็นแม่ว่า
“จ้ำจี้จ้ำจวด พาลูกไปบวชถึงวัดถึงวา ฯลฯ
การยกย่องขุนนางว่าเป็นผู้ได้ผลประโยชน์กว่า ว่า
“ซักส้าวเอย มะนาวโตงเตง
ขุนนางมาเอง มาเล่นซักส้าว
มือใครยาว สาวได้สาวเอา
มือใครสั้น เอาเถาวัลย์ต่อเข้า”
ใครผลุบผลับ ได้กินกะลา (หรือกินรางหมาเน่า)”
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ในครอบครัว มีบทร้องว่าลูกเขยต้องกตัญญูต่อแม่ยาย ในบทเล่นจ้ำจี้อีกบทว่า
“จ้ำจี้ดอกเข็ม มาเล็มดอกหมาก
เป็นครกเป็นสาก ให้แม่ยายตำข้าว
เป็นน้ำเต้า ให้แม่ยายเลียงชด
เป็นชะมด ให้แม่ยายฝนทา ฯลฯ
ค่านิยมที่แม่มีลูกชายก็พาไปบวช ถือเป็นกุศลแก่คนเป็นแม่ว่า
“จ้ำจี้จ้ำจวด พาลูกไปบวชถึงวัดถึงวา ฯลฯ
การยกย่องขุนนางว่าเป็นผู้ได้ผลประโยชน์กว่า ว่า
“ซักส้าวเอย มะนาวโตงเตง
ขุนนางมาเอง มาเล่นซักส้าว
มือใครยาว สาวได้สาวเอา
มือใครสั้น เอาเถาวัลย์ต่อเข้า”
ประเพณีไทย
เอกลักษณ์ของไทย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานไว้คือไทยแท้ ^
คำค้นหา ประเพณีไทย :
การละเล่นไทย,
ความเป็นไทย,
ประเพณี,
ประเพณีไทย
ประเพณีไทย คุณค่าของการละเล่นไทย
ประเพณีไทย คุณค่าของการละเล่นไทย
ประเพณีการละเล่นของไทย เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมพื้นบ้านเท่า ๆ กันกับเป็นการสะท้อนวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ มาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน และเนื่องจากเป็นการ “เล่น” ซึ่งผู้ใหญ่บางคนอาจไม่เห็นคุณค่า นอกจากเห็นว่าเป็นแค่เพียงความสนุกสนานของเด็ก ๆ หนำซ้ำการละเล่นบางอย่างยังเห็นว่าเป็นอันตราย และเป็นการบ่มเพาะนิสัยการพนันอีก เช่น ทอยกอง หว่าหากจะมอง วิเคราะห์กันอย่างจริงจังแล้ว คุณค่าของการละเล่นของไทยเรานี้มีนับอเนกอนันต์ ดังจะว่าไปตามหัวข้อต่อไปนี้
ประโยชน์ทางกาย อันได้จากการออกกำลังทั้งกลางแจ้งและในร่ม เริ่มตั้งแต่เด็กเล็ก ๆ เล่น “จับปูดำ ขยำปูนา” หรือ “โยกเยกเอย น้ำท่วมเมฆ” เด็กก็จะได้หัดใช้กล้ามเนื้อต่าง ๆ ในตัวพร้อมกับทำท่าให้เข้ากับจังหวะ พอโตขึ้นมาหน่อยก็จะชอบเล่นกลางแจ้งกับเด็กคนอื่น ๆ เป็นกลุ่มเล็กบ้างใหญ่บ้าง เช่น ขี่ม้าก้านกล้วย ตาเขย่ง ตีลูกล้อ วิ่งเปี้ยว ขี่ม้าส่งเมือง ตี่จับ เตย ฯลฯ การละเล่นบางอย่างมีบทร้องประกอบทำให้สนุกครึกครื้นเข้าไปอีก อย่าง รีรีข้าวสาร โพงพาง มอญซ่อนผ้า อ้ายเข้อ้ายโขง งูกินหาง นอกจากจะได้ออกกำลังกายแล้วยังได้ฝึกความว่องไว ฝึกความสัมพันธ์ของการเก็งจังหวะแขนเท้า เช่น กาฟักไข่ ได้ฝึกการใช้ทักษะ ทางตาและมือในการเล็งกะระยะ เช่น การเล่นลูกหิน ทอยกอง
ฝึกความสังเกต ไหวพริบ และการใช้เชาวน์ปัญญา จากการละเล่นหลายชนิดที่ต้องชิ่งไหวชิงพริบกันระหว่างการต่อสู้ เช่น การเล่นกาฟักไข่ ผู้ขโมยจะหลอกล่อชิงไหวชิงพริบกับเจ้าของไข่ ซึ่งต้องคอยระวัง คาดคะเนไม่ให้ใครมาขโมยไข่ไปได้ หรือการเล่นแนดบกของทางเหนือ ผู้เล่นจะรู้สึกสนุกกับ การล่อหลอกแนดให้มาแตะ แล้วตัวเองต้องไวพอที่จะวิ่งเข้าวงก่อน การเล่นเตยหรือ ต่อล่อง คนล่องก็จะหลอกล่อให้ผู้กั้นเผลอ เพื่อให้ฝ่ายตนไปได้และผู้กั้นก็ต้องคอยสังเกตให้ดีว่า ใครจะเป็นคนผ่านไป
ฝึกวินัยและการเคารพต่อกติกา การละเล่นทุกอย่างมีกฏในตัวของมันเอง ซึ่งก็มาจากพวกเด็กนั่นเองเป็นคนช่วยกันกำหนดตกลงกันขึ้นมา การเล่นจึงดำเนินไปได้ โดยจะเห็นได้จากก่อนเล่นก็จะมีการจับไม้สั้นไม้ยาว เป่ายิงฉุบ จุ่มจะหลี้ (ของทางเหนือ คล้าย ๆ จ่อจีเจี๊ยบ) หรือ ฉู่ฉี้ (เป่ายิงฉุบของทางภาคใต้ มีปืน น้ำ ก้อนอิฐ แก้ว (น้ำ) หากใครไม่ทำตามกติกาก็จะเข้ากลุ่มเล่นกับเพื่อน ๆ ไม่ได้ เป็นการฝึกการปรับตัวเข้ากับคนอื่นโดยปริยาย
ฝึกความอดทน เช่น ขี่ม้าส่งเมือง ผู้แพ้จะต้องถูกขี่หลังไปไหน ๆ ก็ได้ บางคนตัวเล็กถูกคนตัวใหญ่ขี่ก็ต้องยอม ถ้าไม่ทนก็เล่นกันไม่ได้ หรือเสือข้ามห้วย คนเป็น “ห้วย” ต้องอดทนทำท่าหลายอย่างให้ผู้เป็น “เสือ” ข้าม บางครั้งต้องเป็น “ห้วย” อยู่นาน เพราะไม่มีเสือตัวใดตาย หรือหา “เสือ” ข้ามได้หมด “ห้วย” ก็ถูกลงโทษ ถูก “เสือ” หามไปทิ้งแล้ววิ่งหนี “ห้วย”
ฝึกความสามัคคีในคณะ อย่างเช่น ตี่จับในขณะที่ผู้เล่นของฝ่ายหนึ่งเข้าไป “ตี่” เพื่อให้ถูกตัวผู้เล่นอีกฝ่ายหนึ่ง แล้วจะได้วิ่งกลับฝ่ายของตน โดยไม่ถูกจับเป็นเชลยนั้น ผู้เล่นอีกฝ่ายต้องพร้อมใจกันพยายามจับผู้เข้ามา “ตี่” ไว้อย่าให้หลุดมือ เพราะถ้าหลุดกลับไปฝ่ายของตน ผู้เล่นอีกฝ่ายหนึ่งจะต้องกลับไป เป็นเชลยทั้งกลุ่ม หรืออย่างชักคะเย่อ ผู้เล่นของแต่ละฝ่ายต้องพร้อมใจกันออกแรงกันสุดฤทธิ์สุดเดช เพื่อให้เครื่องหมายที่กึ่งกลางของเชือกเข้าไปอยู่ฝ่ายตน
ฝึกความซื่อสัตย์ ผู้เล่นเป็นคนต้องผิดตาให้มิดในขณะที่คนอื่น ๆ วิ่งไปซ่อน อย่างคำร้องประกอบการเล่นชนิดนี้ว่า “ปิดตาไม่มิด สารพิษเข้าตา พ่อแม่ทำนา ได้ข้าวเม็ดเดียว” หรือหมากเก็บอีตัก ถ้ามือของผู้เล่นไปแตะถูกก้อนหินหรือเม็ดผลไม้ก็ต้องยอม “ตาย” ให้คนอื่นเล่นต่อ แม้ว่าคนอื่นจะไม่เห็นด้วยก็ตาม
ฝึกความรับผิดชอบ การปฏิบัติตามกติกาไม่ว่าจะเป็นการเล่นอะไร ถือว่าเป็นการแสดงความรับผิดชอบของผู้เล่น เช่น เล่นหมุนนาฬิกา ผู้เล่นทุกคนต้องจับมือกันให้แน่นแล้วหงายตัว เอาเท้ายันกัน คนยืนสลับต้องจับมือคนหนึ่งให้แน่น ๆ แล้ววิ่งรอบ ๆ เป็นวงกลมเหมือนนาฬิกา ทุกคนจึงต้องรับผิดชอบจับมือหรือยันเท้าให้มั่น จึงจะหมุนได้สนุก
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>
ประเพณีการละเล่นของไทย เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมพื้นบ้านเท่า ๆ กันกับเป็นการสะท้อนวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ มาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน และเนื่องจากเป็นการ “เล่น” ซึ่งผู้ใหญ่บางคนอาจไม่เห็นคุณค่า นอกจากเห็นว่าเป็นแค่เพียงความสนุกสนานของเด็ก ๆ หนำซ้ำการละเล่นบางอย่างยังเห็นว่าเป็นอันตราย และเป็นการบ่มเพาะนิสัยการพนันอีก เช่น ทอยกอง หว่าหากจะมอง วิเคราะห์กันอย่างจริงจังแล้ว คุณค่าของการละเล่นของไทยเรานี้มีนับอเนกอนันต์ ดังจะว่าไปตามหัวข้อต่อไปนี้
คุณค่าของการละเล่นไทย
ประเพณีไทยๆ
ประโยชน์ทางกาย อันได้จากการออกกำลังทั้งกลางแจ้งและในร่ม เริ่มตั้งแต่เด็กเล็ก ๆ เล่น “จับปูดำ ขยำปูนา” หรือ “โยกเยกเอย น้ำท่วมเมฆ” เด็กก็จะได้หัดใช้กล้ามเนื้อต่าง ๆ ในตัวพร้อมกับทำท่าให้เข้ากับจังหวะ พอโตขึ้นมาหน่อยก็จะชอบเล่นกลางแจ้งกับเด็กคนอื่น ๆ เป็นกลุ่มเล็กบ้างใหญ่บ้าง เช่น ขี่ม้าก้านกล้วย ตาเขย่ง ตีลูกล้อ วิ่งเปี้ยว ขี่ม้าส่งเมือง ตี่จับ เตย ฯลฯ การละเล่นบางอย่างมีบทร้องประกอบทำให้สนุกครึกครื้นเข้าไปอีก อย่าง รีรีข้าวสาร โพงพาง มอญซ่อนผ้า อ้ายเข้อ้ายโขง งูกินหาง นอกจากจะได้ออกกำลังกายแล้วยังได้ฝึกความว่องไว ฝึกความสัมพันธ์ของการเก็งจังหวะแขนเท้า เช่น กาฟักไข่ ได้ฝึกการใช้ทักษะ ทางตาและมือในการเล็งกะระยะ เช่น การเล่นลูกหิน ทอยกอง
ฝึกความสังเกต ไหวพริบ และการใช้เชาวน์ปัญญา จากการละเล่นหลายชนิดที่ต้องชิ่งไหวชิงพริบกันระหว่างการต่อสู้ เช่น การเล่นกาฟักไข่ ผู้ขโมยจะหลอกล่อชิงไหวชิงพริบกับเจ้าของไข่ ซึ่งต้องคอยระวัง คาดคะเนไม่ให้ใครมาขโมยไข่ไปได้ หรือการเล่นแนดบกของทางเหนือ ผู้เล่นจะรู้สึกสนุกกับ การล่อหลอกแนดให้มาแตะ แล้วตัวเองต้องไวพอที่จะวิ่งเข้าวงก่อน การเล่นเตยหรือ ต่อล่อง คนล่องก็จะหลอกล่อให้ผู้กั้นเผลอ เพื่อให้ฝ่ายตนไปได้และผู้กั้นก็ต้องคอยสังเกตให้ดีว่า ใครจะเป็นคนผ่านไป
ฝึกวินัยและการเคารพต่อกติกา การละเล่นทุกอย่างมีกฏในตัวของมันเอง ซึ่งก็มาจากพวกเด็กนั่นเองเป็นคนช่วยกันกำหนดตกลงกันขึ้นมา การเล่นจึงดำเนินไปได้ โดยจะเห็นได้จากก่อนเล่นก็จะมีการจับไม้สั้นไม้ยาว เป่ายิงฉุบ จุ่มจะหลี้ (ของทางเหนือ คล้าย ๆ จ่อจีเจี๊ยบ) หรือ ฉู่ฉี้ (เป่ายิงฉุบของทางภาคใต้ มีปืน น้ำ ก้อนอิฐ แก้ว (น้ำ) หากใครไม่ทำตามกติกาก็จะเข้ากลุ่มเล่นกับเพื่อน ๆ ไม่ได้ เป็นการฝึกการปรับตัวเข้ากับคนอื่นโดยปริยาย
ฝึกความอดทน เช่น ขี่ม้าส่งเมือง ผู้แพ้จะต้องถูกขี่หลังไปไหน ๆ ก็ได้ บางคนตัวเล็กถูกคนตัวใหญ่ขี่ก็ต้องยอม ถ้าไม่ทนก็เล่นกันไม่ได้ หรือเสือข้ามห้วย คนเป็น “ห้วย” ต้องอดทนทำท่าหลายอย่างให้ผู้เป็น “เสือ” ข้าม บางครั้งต้องเป็น “ห้วย” อยู่นาน เพราะไม่มีเสือตัวใดตาย หรือหา “เสือ” ข้ามได้หมด “ห้วย” ก็ถูกลงโทษ ถูก “เสือ” หามไปทิ้งแล้ววิ่งหนี “ห้วย”
ฝึกความสามัคคีในคณะ อย่างเช่น ตี่จับในขณะที่ผู้เล่นของฝ่ายหนึ่งเข้าไป “ตี่” เพื่อให้ถูกตัวผู้เล่นอีกฝ่ายหนึ่ง แล้วจะได้วิ่งกลับฝ่ายของตน โดยไม่ถูกจับเป็นเชลยนั้น ผู้เล่นอีกฝ่ายต้องพร้อมใจกันพยายามจับผู้เข้ามา “ตี่” ไว้อย่าให้หลุดมือ เพราะถ้าหลุดกลับไปฝ่ายของตน ผู้เล่นอีกฝ่ายหนึ่งจะต้องกลับไป เป็นเชลยทั้งกลุ่ม หรืออย่างชักคะเย่อ ผู้เล่นของแต่ละฝ่ายต้องพร้อมใจกันออกแรงกันสุดฤทธิ์สุดเดช เพื่อให้เครื่องหมายที่กึ่งกลางของเชือกเข้าไปอยู่ฝ่ายตน
ฝึกความซื่อสัตย์ ผู้เล่นเป็นคนต้องผิดตาให้มิดในขณะที่คนอื่น ๆ วิ่งไปซ่อน อย่างคำร้องประกอบการเล่นชนิดนี้ว่า “ปิดตาไม่มิด สารพิษเข้าตา พ่อแม่ทำนา ได้ข้าวเม็ดเดียว” หรือหมากเก็บอีตัก ถ้ามือของผู้เล่นไปแตะถูกก้อนหินหรือเม็ดผลไม้ก็ต้องยอม “ตาย” ให้คนอื่นเล่นต่อ แม้ว่าคนอื่นจะไม่เห็นด้วยก็ตาม
ฝึกความรับผิดชอบ การปฏิบัติตามกติกาไม่ว่าจะเป็นการเล่นอะไร ถือว่าเป็นการแสดงความรับผิดชอบของผู้เล่น เช่น เล่นหมุนนาฬิกา ผู้เล่นทุกคนต้องจับมือกันให้แน่นแล้วหงายตัว เอาเท้ายันกัน คนยืนสลับต้องจับมือคนหนึ่งให้แน่น ๆ แล้ววิ่งรอบ ๆ เป็นวงกลมเหมือนนาฬิกา ทุกคนจึงต้องรับผิดชอบจับมือหรือยันเท้าให้มั่น จึงจะหมุนได้สนุก
ประเพณีไทย
เอกลักษณ์ของไทย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานไว้คือไทยแท้ ^
คำค้นหา ประเพณีไทย :
การละเล่นไทย,
ประเพณี,
ประเพณีไทย
ระเบียบประเพณีไทยควรร่วมใจกันรักษา
ระเบียบประเพณีไทยควรร่วมใจกันรักษา
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอันดีงามของชาวไทยนั้นสืบทอดกันมายาวนานตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษของเราเป็นสมบัติอันล้ำค่ายิ่งผูกพันในน้ำใจของคนไทยด้วยกัน ชาวต่างประเทศก็มีความประทับใจในใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสและความมีน้ำใจของคนไทยทุกคนจึงให้สมญานามว่าเราเป็น “สยามเมืองยิ้ม” ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย อันดีงามของพี่น้องชาวไทย มีมาก ลูกผู้ชายมีความกตัญญู รักและเคารพพ่อ – แม่ และผู้มีอุปการะคุณก่อนการเข้าพิธีการแต่งงานต้องมีการบวชทดแทนบุญคุณของพ่อแม่ และบุพการีก่อนจะเข้าพิธีแต่งงานต้องมีการสู่ขอมีญาติสนิทมิตรสหายมาร่วมพิธีกันมากมายเป็นสักขีพยาน หรือการจัดงานประเพณีไทยก็มีการจัดงานรื่นเริงประกอบพิธี เช่น ภาคใต้มีหนังตะลุง ภาคอีสานมีหมอลำที่โคราชก็มีเพลงโคราชขับกล่อมสร้างความบันเทิง ภาคเหนือก็มีสะล้อซอซึงบรรเลง ภาคกลางก็มีเพลงลำตัดให้สัมผัสความรื่นเริง เป็นต้น
ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย อันดีงามของพี่น้องเราชาวไทย มีคุณค่ามาก เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตมาก แต่สภาพการณ์ในปัจจุบันการสืบทอดมรดกอันดีมีคุณค่าขาดการสืบทอดกันไปมากเป็นที่น่าเสียดาย เช่น ในอดีตประเพณีสงกรานต์ จะมีการรดน้ำดำหัวให้กับผู้ใหญ่น้ำที่ใช้รดจะเป็นน้ำฝนที่เก็บเอาไว้ในตุ่มของแต่ละบ้าน เมื่อรดน้ำไปแล้วก็จะใช้น้ำฝนจากตุ่มบ้านของผู้ใหญ่ที่ไปรด เพื่อใช้รดผู้ใหญ่บ้านต่อไป สำหรับการรดน้ำกันเองจะใช้น้ำจากสระที่ใสสะอาดรดกัน หรือการมีคู่ครองลูกผู้ชายไทยทุกคน รักชอบพอใครจะมีการเกี้ยวพาราสีกันโดยไม่มีการแตะเนื้อต้องตัวเมื่อตกลงปลงใจจะครอง
นี่คือตัวอย่างส่วนหนึ่งของขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอันดีงาม ของชาวไทยที่สืบทอดกันมานาน
สำหรับในปัจจุบันประเพณีไทย มีการเปลี่ยนแปลงแปรผันไปมาก เช่น ชายหญิงจะมีความสัมพันธ์ทางเพศต่อกันก่อนมีพิธีการแต่งงาน วันสงกรานต์ก็ใช้น้ำสารพัดชนิดมาสาดรดกัน น้ำคู น้ำคลอง ฯลฯ ซึ่งไม่สะอาดมาสาดรดกัน บางกลุ่มถึงกับใช้น้ำแข็งก้อนมาใช้ในวันสงกรานต์มาเหวี่ยงรดกันเป็น อันตรายต่อร่างกายของผู้รับเป็นอย่างยิ่งการจัดงานเลี้ยงดูกันในโอกาสวันสำคัญ เช่น งานแต่งงาน งานบวช งานเทศกาล ฯลฯ ทุกคนจะนำอาหารดิบจากบ้านมาร่วมกันปรุง ไก่ หอย กุ้ง ปู ปลา ที่มี่อยู่ตามธรรมชาติมาช่วยกันปรุงไม่ต้องไปซื้อหาเสียค่าใช้จ่ายให้สิ้นเปลืองทุกคน มีความสุขร่วมกันมรดกทางวัฒนธรรมประเพณีไทยอันดีงามของชาวไทยเหล่านี้ค่อนข้างเลือนหายไปทำไมทุกคนไม่ช่วยกันอนุรักษ์รักษาเอาไว้ให้มีการสืบทอดกันต่อไป ช่วยกันดูแลรักษาไปให้เป็นสมบัติของแผ่นดิน พวกเราทุกคนนั้นมีบทบาทอันสำคัญในการช่วยสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอันดีงามเหล่านี้ ปลุกจิตสำนึกศิษย์ทุกคนให้ปฏิบัติตนตามระเบียบประเพณีไทยอันดีงามของชาวไทยต่อไป อย่าให้สมญานามของเราจาก “สยามเมืองยิ้ม” เป็น “สยามเมืองแย่” ช่วยกันแก้ช่วยกันพัฒนาให้สมคุณค่าแผ่นดินไทย แผ่นดินทอง
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>
การเกี้ยวพาราสีกันโดยไม่มีการแตะเนื้อต้อง |
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอันดีงามของชาวไทยนั้นสืบทอดกันมายาวนานตั้งแต่สมัยบรรพบุรุษของเราเป็นสมบัติอันล้ำค่ายิ่งผูกพันในน้ำใจของคนไทยด้วยกัน ชาวต่างประเทศก็มีความประทับใจในใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสและความมีน้ำใจของคนไทยทุกคนจึงให้สมญานามว่าเราเป็น “สยามเมืองยิ้ม” ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย อันดีงามของพี่น้องชาวไทย มีมาก ลูกผู้ชายมีความกตัญญู รักและเคารพพ่อ – แม่ และผู้มีอุปการะคุณก่อนการเข้าพิธีการแต่งงานต้องมีการบวชทดแทนบุญคุณของพ่อแม่ และบุพการีก่อนจะเข้าพิธีแต่งงานต้องมีการสู่ขอมีญาติสนิทมิตรสหายมาร่วมพิธีกันมากมายเป็นสักขีพยาน หรือการจัดงานประเพณีไทยก็มีการจัดงานรื่นเริงประกอบพิธี เช่น ภาคใต้มีหนังตะลุง ภาคอีสานมีหมอลำที่โคราชก็มีเพลงโคราชขับกล่อมสร้างความบันเทิง ภาคเหนือก็มีสะล้อซอซึงบรรเลง ภาคกลางก็มีเพลงลำตัดให้สัมผัสความรื่นเริง เป็นต้น
ขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย อันดีงามของพี่น้องเราชาวไทย มีคุณค่ามาก เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตมาก แต่สภาพการณ์ในปัจจุบันการสืบทอดมรดกอันดีมีคุณค่าขาดการสืบทอดกันไปมากเป็นที่น่าเสียดาย เช่น ในอดีตประเพณีสงกรานต์ จะมีการรดน้ำดำหัวให้กับผู้ใหญ่น้ำที่ใช้รดจะเป็นน้ำฝนที่เก็บเอาไว้ในตุ่มของแต่ละบ้าน เมื่อรดน้ำไปแล้วก็จะใช้น้ำฝนจากตุ่มบ้านของผู้ใหญ่ที่ไปรด เพื่อใช้รดผู้ใหญ่บ้านต่อไป สำหรับการรดน้ำกันเองจะใช้น้ำจากสระที่ใสสะอาดรดกัน หรือการมีคู่ครองลูกผู้ชายไทยทุกคน รักชอบพอใครจะมีการเกี้ยวพาราสีกันโดยไม่มีการแตะเนื้อต้องตัวเมื่อตกลงปลงใจจะครอง
นี่คือตัวอย่างส่วนหนึ่งของขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอันดีงาม ของชาวไทยที่สืบทอดกันมานาน
สำหรับในปัจจุบันประเพณีไทย มีการเปลี่ยนแปลงแปรผันไปมาก เช่น ชายหญิงจะมีความสัมพันธ์ทางเพศต่อกันก่อนมีพิธีการแต่งงาน วันสงกรานต์ก็ใช้น้ำสารพัดชนิดมาสาดรดกัน น้ำคู น้ำคลอง ฯลฯ ซึ่งไม่สะอาดมาสาดรดกัน บางกลุ่มถึงกับใช้น้ำแข็งก้อนมาใช้ในวันสงกรานต์มาเหวี่ยงรดกันเป็น อันตรายต่อร่างกายของผู้รับเป็นอย่างยิ่งการจัดงานเลี้ยงดูกันในโอกาสวันสำคัญ เช่น งานแต่งงาน งานบวช งานเทศกาล ฯลฯ ทุกคนจะนำอาหารดิบจากบ้านมาร่วมกันปรุง ไก่ หอย กุ้ง ปู ปลา ที่มี่อยู่ตามธรรมชาติมาช่วยกันปรุงไม่ต้องไปซื้อหาเสียค่าใช้จ่ายให้สิ้นเปลืองทุกคน มีความสุขร่วมกันมรดกทางวัฒนธรรมประเพณีไทยอันดีงามของชาวไทยเหล่านี้ค่อนข้างเลือนหายไปทำไมทุกคนไม่ช่วยกันอนุรักษ์รักษาเอาไว้ให้มีการสืบทอดกันต่อไป ช่วยกันดูแลรักษาไปให้เป็นสมบัติของแผ่นดิน พวกเราทุกคนนั้นมีบทบาทอันสำคัญในการช่วยสืบทอดขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอันดีงามเหล่านี้ ปลุกจิตสำนึกศิษย์ทุกคนให้ปฏิบัติตนตามระเบียบประเพณีไทยอันดีงามของชาวไทยต่อไป อย่าให้สมญานามของเราจาก “สยามเมืองยิ้ม” เป็น “สยามเมืองแย่” ช่วยกันแก้ช่วยกันพัฒนาให้สมคุณค่าแผ่นดินไทย แผ่นดินทอง
ประเพณีไทย
เอกลักษณ์ของไทย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานไว้คือไทยแท้ ^^
คำค้นหา ประเพณีไทย :
ขนบธรรมเนียม,
ประเพณี,
ประเพณีไทย,
ระเบียบประเพณีไทย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
เศรษฐกิจพอเพียง
วาดรูปเศรษฐกิจพอเพียง
ประเพณีไทย
ประเพณีไทย
Presented by anirud ประเพณีไทย on Nov 01 2012
Rating: 5
เกี่ยวกับเรา ประเพณีไทย
เข้าร่วม Google+ ประเพณีไทย
ประเพณีไทย โดย anirud
Presented by anirud ประเพณีไทย on Nov 01 2012
Rating: 5
ความรู้ ประเพณีไทย
-
เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง การทำงานในสภาพปัจจุบันต้องแข่งขันกันทั้งด้านคุณภาพและเวลา การทำงานจริงจึงไม่มีเวลา...
-
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย ห ลายๆ ท่าน หลายโรงเรียนในช่วงนี้ อาจจะกำลังตามหารูปภาพที่จะใช้ในการวาดประกวดใน หัวข้อ " ภาพวาดประกวดประเพณี...
-
ประเพณีไทย ประเพณีไทย ประเทศไทยมีวัฒนธรรมและประเพณี ต่าง ๆ ที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่โบราณ เช่น พิธีกรรมทางศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นพิธีกรรมท...
-
เรียงความ ประเพณี ไทย การเขียนเรียงความในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับประเพณีไทย ก่อนที่เราจะเขียนในหัวข้อนี้ออกมาได้ และทำให้ผู้ที่อ่านเรียงควา...
-
ประเพณีไทย ประเพณีไทย หมายถึง กิจกรรมที่มีการกระทำสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์ของไทยพร้อมทั้งมีความสำคัญต่อสังคมไทย เช่น...
-
การวาดภาพระบายสี การวาดภาพระบายสี 1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน - เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 1 – ป. 3 - เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 4 – ป....
-
ศิลป์สร้างสรรค์ การแข่งขัน “ ศิลป์สร้างสรรค์” 1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน - เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 1 – ป. 3 - เป็นนักเรียนระดั...
-
ประโยชน์ของศิลปะ ประโยชน์ของศิลปะ - ได้รู้จักกับตัวเองมากขึ้น คล้ายกับการได้คุยกับตนเองในอดีต ได้ทบทวนเรื่องราวในอดีตของตัวเอง - ได...
-
เกณฑ์การแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ปีการศึกษา 2557 >>> เกณฑ์การแข่งขันล่าสุด <<< งานศิ...
-
ประโยชน์ของดนตรี ประโยชน์ของดนตรี ดนตรี คำว่าดนตรีนั้นมีความหมายมากมายแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละบุคคลแต่ดิฉันให้ความหมายของ...
คำค้นหา ประเพณีไทย
กลอนประเพณีผูกเสี่ยว
(1)
การประสมวงดนตรีไทย
(1)
การรักษาสัมพันธภาพ
(1)
การละเล่นไทย
(3)
การละเล่นพื้นบ้านมะโย่ง
(1)
การละเล่นภาคใต้
(1)
การละเล่นว่าว
(1)
การเล่นโพงพาง
(1)
การเล่นว่าว
(1)
การเล่นว่าวไทย
(1)
การวาดภาพ
(1)
การ วาด ภาพ ระบายสี โปสเตอร์การ
(1)
การสร้างสัมพันธภาพ
(1)
การอยู่ร่วมกัน
(1)
การอยู่ร่วมกันในสังคม
(2)
เกณฑ์การแข่งขัน
(1)
เกษตรแบบผสมผสาน
(1)
ขนบธรรมเนียม
(2)
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
(1)
เขียนเรียงความ
(1)
แข่งขันดนตรีไทย
(1)
แข่งขันเรือยาว
(2)
แข่งขันเรือยาว สกลนคร 2557
(1)
แข่งดนตรีไทย
(1)
ครอบครัวพอเพียง
(1)
ครอบครัวพอเพียง เรียงความ
(1)
ความคิดและการแสดงออก
(1)
ความเป็นไทย
(1)
ความเป็นมาเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
คำกลอนประเพณีบุญบั้งไฟ
(1)
คำขวัญวันเด็ก
(1)
คำขวัญวันเด็ก 2559
(1)
โคมลอย
(1)
งานศพ
(1)
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
(1)
ดนตรี
(1)
ดนตรีไทย
(2)
ทหารเรือ
(1)
ทักษะการเขียนเรียงความ
(1)
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ
(1)
ทันตแพทย์ในดวงใจ
(1)
ทำขวัญ
(1)
ธรรมเนียมประเพณีของทหารเรือ
(1)
บทความเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
บ้านน้ำจั้น
(1)
บุญข้าวประดับดิน
(1)
บุญข้าวสาก
(1)
บุญเดือน 9
(1)
บุญบั้งไฟ
(1)
ประเพณี
(6)
ประเพณีกำฟ้า
(1)
ประเพณีแข่งขันเรือยาว
(1)
ประเพณีทหารเรือ
(1)
ประเพณีทำขวัญ
(1)
ประเพณีทำขวัญแม่โพสพ
(1)
ประเพณี ไทย
(9)
ประเพณีไทยไทย
(1)
ประเพณีบุญบั้งไฟ
(1)
ประเพณีบุญบั้งไฟ 2557
(1)
ประเพณีผูกเสี่ยว
(1)
ประเพณีภาคกลาง
(1)
ประเพณีภาคใต้
(1)
ประเพณีภาคเหนือ
(1)
ประเพณียี่เป็ง
(1)
ประเพณีลอยกระทง
(1)
ประโยชน์ของดนตรี
(1)
ประโยชน์ของศิลปะ
(1)
ประโยชน์ดนตรี
(1)
ประวัติ เพลงชาติไทย
(1)
ปรัชญา
(1)
ผูกเสี่ยว
(1)
พระราชดำรัส
(1)
พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(1)
พอเพียง
(3)
พิธีจัดงานศพ
(1)
เพลงแข่งขันวงดนตรีไทย
(1)
เพลงชาติไทย
(1)
ภาพประเพณีไทยประกวด ภาพ วาด 2557
(1)
ภาพวาด
(1)
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย
(1)
ภูมิปัญญาชาวบ้าน
(3)
ภูมิปัญญาชาวบ้านปัจจุบัน
(1)
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
(3)
ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย
(1)
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน
(1)
ภูมิปัญญาไทย
(1)
มโหรี
(1)
มโหรีพื้นบ้าน
(1)
มะโย่ง
(1)
ระดับประเทศ
(1)
ระเบียบประเพณีไทย
(1)
เรียงความ
(3)
เรียงความ ประเพณี ไทย
(2)
เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง
(2)
เรียนวาดภาพ
(1)
เรือยาวสกลนคร
(1)
โรงเรียน
(1)
ลอยกระทง
(1)
ลอยกระทงภาคเหนือ
(1)
ลาวบุญคูนข้าว
(1)
วงมโหรีพื้นบ้าน
(1)
วันเด็ก 2559
(1)
วันเด็กแห่งชาติ
(1)
วันที่ห้ามเผาศพ
(1)
วันผีกิน
(1)
วันลอยกระทง
(1)
วาดภาพระบายสีเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
ว่าว
(1)
ว่าวควาย
(1)
ว่าวจุฬา
(1)
ว่าวไทย
(1)
ว่าวปักเป้า
(1)
ว่าว ภาษาอังกฤษ
(1)
ศิลป์สร้างสรรค์
(1)
ศิลป์สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้
(1)
ศิลปหัตถกรรม 2557
(1)
ศิลปหัตถกรรม 64
(1)
ศิลปะ
(4)
ศิลปะกับมนุษย์
(1)
ศิลปะในสังคมไทย
(4)
ศิลปะบำบัด
(3)
ศิลปะบำบัดพื้นฐาน
(2)
ศิลปะเพื่อชีวิต
(1)
ศิลปะเพื่อสุขภาพ
(1)
เศรษฐกิจพอเพียง
(8)
เศรษฐกิจพอเพียง คือ
(1)
เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียน
(1)
สกลนคร 2557
(1)
สมัยกรุงสุโขทัย
(1)
สอนวาดภาพ
(1)
สังคม
(1)
สัปเหร่อ
(1)
สัมพันธภาพ
(1)
สัมพันธภาพกับผู้อื่น
(1)
สัมพันธภาพที่ดี
(1)
สืบทอดวัฒนธรรม
(1)
หลักการอยู่ร่วมกัน
(1)
แห่ดาว
(1)
แห่ดาว ท่าแร่
(1)
แห่ดาว สกลนคร
(1)
อนุรักษ์
(1)
อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
(1)
เอกลักษณ์ไทย
(1)