Mohon Aktifkan Javascript!Enable JavaScript
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ประเพณีภาคเหนือ แสดงบทความทั้งหมด
แสดงบทความที่มีป้ายกำกับ ประเพณีภาคเหนือ แสดงบทความทั้งหมด
ประเพณีภาคเหนือ ประเพณียี่เป็ง
ประเพณียี่เป็ง
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>
ประเพณียี่เป็ง |
คำว่า “ยี่เป็ง” เป็นภาษาล้านนาหรือภาษาคำเมือง การนับวันเดือนปีของชาวล้านนาจะมีความคาดเคลื่อนจากชาวภาคกลางประมาณ 2 เดือน ชาวล้านนาจะเริ่มนับวันเดือนปีประมาณเดือนตุลาคมของทุก ๆ ปี โดยเดือนที่หนึ่งเรียกว่า “เดือนเกี๋ยง” เดือนที่สองเรียกว่า “เดือนยี่” และเดือนที่สาม สี่ ห้า……จนถึงเดือนสิบสองจะนับเช่นเดียวกับชาวภาคกลาง
คำว่า “เป็ง” ก็คือพระจันทร์ในคืนวันเพ็ญ พระจันทร์ในคืนนี้จะมีความสว่างสุกใสเป็นพิเศษ ชาวล้านนาออกเสียง พ (พ.พาน) เป็น ป (ป.ปา) ถ้าเป็นภาษาเขียน พ (ตั๋วป๊ะ) = พ) ดังนั้น คำว่า “วันเพ็ญเดือนสิบสอง น้ำนองเต็มตลิ่ง พวกเราชายหญิง สนุกกันจริง วันลอยกระทง” ก็คือ วันเพ็ญเดือนสิบสองของชาวภาคกลาง และก็มีความหมายเหมือนกับของชาวล้านคือ “วันยี่เป็ง” ซึ่งจะตกราวประมาณของเดือนพฤศจิกายนของทุก ๆ ปี
ประเพณียี่เป็งชาวล้านนาจะถือปฏิบัติกันมาเป็นเวลาช้านาน กิจกรรมในประเพณีนี้ชาวล้านนาจะมีการตบแต่งสถานที่ “ชุ้มประตูป่า” ประดับด้วยไฟสีต่าง ๆ ตอนเช้าไปทำบุญที่วัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาและความเป็นศิริมงคลกับครอบครัวและตนเอง ตอนเย็นหรือหัวค่ำก็จะเดินทางไปบูชาเทียนต่อพระประธานในพระวิหารหรือพระอุโบสถ เทียนนี้จะทำเป็นพิเศษ โดยไส้เทียนจะประกอบด้วยเส้นไส้เทียนเท่าอายุของตนเองหรือเผื่ออีกเล็กน้อย จะมากหรือน้อยนั้นก็สุดแล้วแต่ความเชื่อของแต่ละบุคคล กระดาษสาที่เขียนด้วยบทคาถาและวันเดือนปีเกิดของบุคคลนั้น เทียนนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 3 เล่มคือ สืบชะตา รับโชค และสะเดาะเคราะห์ นอกจากการบูชาเทียนนี้แล้ว ก็มีการจุด ประทีบ (ผางปะตีด) บูชาพระพุทธเจ้า และกลับมาที่บ้านก็มาจุดบูชาพระพุทธรูปที่บ้าน ตลอดจนจุดประทีบบริเวณหน้าบ้าน จะมีการจุดดอกไม้ไฟ ปล่อยโคมลอย และกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ๆ ต่างก็มีความสนุกสนานกับประเพณีนี้ในปีหนึ่ง ๆ จะมีเพียงครั้งเดียว
สิ่งที่เราพบเห็นอีกสิ่งหนึ่งนั้นก็คือ “การลอยกระทง” ในแม่น้ำสายต่าง ๆ ทั่วประเทศ การทำกิจกรรมนี้ในอดีตที่ผ่านมานั้นกระทำเพื่อวัตถุประสงค์ที่จะบูชา “พระแม่คงคา” กล่าวคือแม่น้ำคงคาในประเทศอินเดียนั้นมีประโยชน์คุณูประการต่อชาวอินเดียตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยรับเอาพระพุทธศาสนามาจากประเทศอินเดีย และขณะเดียวกันก็รับเอาประเพณีวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้ามาด้วย การลอยกระทงเป็นการบูชา “แม่น้ำ” หรือ “น้ำ” นั้น เป็นการสำนึกในบุญคุณของน้ำที่ช่วยให้ชีวิตทุกชีวิตไม่ว่าจะเป็นคนหรือสัตว์ได้อาบ ได้ดื่ม ได้กิน ให้ชีวิตนี้ดำรงอยู่ได้อย่างปกติสุข
ประเพณียี่เป็ง, ประเพณีภาคเหนือ, ลอยกระทงภาคเหนือ, โคมลอย
คำว่า “เป็ง” ก็คือพระจันทร์ในคืนวันเพ็ญ พระจันทร์ในคืนนี้จะมีความสว่างสุกใสเป็นพิเศษ ชาวล้านนาออกเสียง พ (พ.พาน) เป็น ป (ป.ปา) ถ้าเป็นภาษาเขียน พ (ตั๋วป๊ะ) = พ) ดังนั้น คำว่า “วันเพ็ญเดือนสิบสอง น้ำนองเต็มตลิ่ง พวกเราชายหญิง สนุกกันจริง วันลอยกระทง” ก็คือ วันเพ็ญเดือนสิบสองของชาวภาคกลาง และก็มีความหมายเหมือนกับของชาวล้านคือ “วันยี่เป็ง” ซึ่งจะตกราวประมาณของเดือนพฤศจิกายนของทุก ๆ ปี
ประเพณียี่เป็งชาวล้านนาจะถือปฏิบัติกันมาเป็นเวลาช้านาน กิจกรรมในประเพณีนี้ชาวล้านนาจะมีการตบแต่งสถานที่ “ชุ้มประตูป่า” ประดับด้วยไฟสีต่าง ๆ ตอนเช้าไปทำบุญที่วัดเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาและความเป็นศิริมงคลกับครอบครัวและตนเอง ตอนเย็นหรือหัวค่ำก็จะเดินทางไปบูชาเทียนต่อพระประธานในพระวิหารหรือพระอุโบสถ เทียนนี้จะทำเป็นพิเศษ โดยไส้เทียนจะประกอบด้วยเส้นไส้เทียนเท่าอายุของตนเองหรือเผื่ออีกเล็กน้อย จะมากหรือน้อยนั้นก็สุดแล้วแต่ความเชื่อของแต่ละบุคคล กระดาษสาที่เขียนด้วยบทคาถาและวันเดือนปีเกิดของบุคคลนั้น เทียนนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 3 เล่มคือ สืบชะตา รับโชค และสะเดาะเคราะห์ นอกจากการบูชาเทียนนี้แล้ว ก็มีการจุด ประทีบ (ผางปะตีด) บูชาพระพุทธเจ้า และกลับมาที่บ้านก็มาจุดบูชาพระพุทธรูปที่บ้าน ตลอดจนจุดประทีบบริเวณหน้าบ้าน จะมีการจุดดอกไม้ไฟ ปล่อยโคมลอย และกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย ทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ๆ ต่างก็มีความสนุกสนานกับประเพณีนี้ในปีหนึ่ง ๆ จะมีเพียงครั้งเดียว
สิ่งที่เราพบเห็นอีกสิ่งหนึ่งนั้นก็คือ “การลอยกระทง” ในแม่น้ำสายต่าง ๆ ทั่วประเทศ การทำกิจกรรมนี้ในอดีตที่ผ่านมานั้นกระทำเพื่อวัตถุประสงค์ที่จะบูชา “พระแม่คงคา” กล่าวคือแม่น้ำคงคาในประเทศอินเดียนั้นมีประโยชน์คุณูประการต่อชาวอินเดียตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน ประเทศไทยรับเอาพระพุทธศาสนามาจากประเทศอินเดีย และขณะเดียวกันก็รับเอาประเพณีวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้ามาด้วย การลอยกระทงเป็นการบูชา “แม่น้ำ” หรือ “น้ำ” นั้น เป็นการสำนึกในบุญคุณของน้ำที่ช่วยให้ชีวิตทุกชีวิตไม่ว่าจะเป็นคนหรือสัตว์ได้อาบ ได้ดื่ม ได้กิน ให้ชีวิตนี้ดำรงอยู่ได้อย่างปกติสุข
ปล่อยโคมลอย |
คำค้นหา : | ประเพณียี่เป็ง |
คำค้นหา ประเพณีไทย :
โคมลอย,
ประเพณีภาคเหนือ,
ประเพณียี่เป็ง,
ลอยกระทงภาคเหนือ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
เศรษฐกิจพอเพียง
วาดรูปเศรษฐกิจพอเพียง
ประเพณีไทย
ประเพณีไทย
Presented by anirud ประเพณีไทย on Nov 01 2012
Rating: 5
เกี่ยวกับเรา ประเพณีไทย
เข้าร่วม Google+ ประเพณีไทย
ประเพณีไทย โดย anirud
Presented by anirud ประเพณีไทย on Nov 01 2012
Rating: 5
ความรู้ ประเพณีไทย
-
เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง การทำงานในสภาพปัจจุบันต้องแข่งขันกันทั้งด้านคุณภาพและเวลา การทำงานจริงจึงไม่มีเวลา...
-
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย ห ลายๆ ท่าน หลายโรงเรียนในช่วงนี้ อาจจะกำลังตามหารูปภาพที่จะใช้ในการวาดประกวดใน หัวข้อ " ภาพวาดประกวดประเพณี...
-
ประเพณีไทย ประเพณีไทย ประเทศไทยมีวัฒนธรรมและประเพณี ต่าง ๆ ที่ปฏิบัติสืบทอดกันมาแต่โบราณ เช่น พิธีกรรมทางศาสนาพุทธ ซึ่งเป็นพิธีกรรมท...
-
เรียงความ ประเพณี ไทย การเขียนเรียงความในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับประเพณีไทย ก่อนที่เราจะเขียนในหัวข้อนี้ออกมาได้ และทำให้ผู้ที่อ่านเรียงควา...
-
ประเพณีไทย ประเพณีไทย หมายถึง กิจกรรมที่มีการกระทำสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์ของไทยพร้อมทั้งมีความสำคัญต่อสังคมไทย เช่น...
-
การวาดภาพระบายสี การวาดภาพระบายสี 1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน - เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 1 – ป. 3 - เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 4 – ป....
-
ศิลป์สร้างสรรค์ การแข่งขัน “ ศิลป์สร้างสรรค์” 1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน - เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 1 – ป. 3 - เป็นนักเรียนระดั...
-
ประโยชน์ของศิลปะ ประโยชน์ของศิลปะ - ได้รู้จักกับตัวเองมากขึ้น คล้ายกับการได้คุยกับตนเองในอดีต ได้ทบทวนเรื่องราวในอดีตของตัวเอง - ได...
-
เกณฑ์การแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64 ปีการศึกษา 2557 >>> เกณฑ์การแข่งขันล่าสุด <<< งานศิ...
-
ประโยชน์ของดนตรี ประโยชน์ของดนตรี ดนตรี คำว่าดนตรีนั้นมีความหมายมากมายแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละบุคคลแต่ดิฉันให้ความหมายของ...
คำค้นหา ประเพณีไทย
กลอนประเพณีผูกเสี่ยว
(1)
การประสมวงดนตรีไทย
(1)
การรักษาสัมพันธภาพ
(1)
การละเล่นไทย
(3)
การละเล่นพื้นบ้านมะโย่ง
(1)
การละเล่นภาคใต้
(1)
การละเล่นว่าว
(1)
การเล่นโพงพาง
(1)
การเล่นว่าว
(1)
การเล่นว่าวไทย
(1)
การวาดภาพ
(1)
การ วาด ภาพ ระบายสี โปสเตอร์การ
(1)
การสร้างสัมพันธภาพ
(1)
การอยู่ร่วมกัน
(1)
การอยู่ร่วมกันในสังคม
(2)
เกณฑ์การแข่งขัน
(1)
เกษตรแบบผสมผสาน
(1)
ขนบธรรมเนียม
(2)
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
(1)
เขียนเรียงความ
(1)
แข่งขันดนตรีไทย
(1)
แข่งขันเรือยาว
(2)
แข่งขันเรือยาว สกลนคร 2557
(1)
แข่งดนตรีไทย
(1)
ครอบครัวพอเพียง
(1)
ครอบครัวพอเพียง เรียงความ
(1)
ความคิดและการแสดงออก
(1)
ความเป็นไทย
(1)
ความเป็นมาเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
คำกลอนประเพณีบุญบั้งไฟ
(1)
คำขวัญวันเด็ก
(1)
คำขวัญวันเด็ก 2559
(1)
โคมลอย
(1)
งานศพ
(1)
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน
(1)
ดนตรี
(1)
ดนตรีไทย
(2)
ทหารเรือ
(1)
ทักษะการเขียนเรียงความ
(1)
ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ
(1)
ทันตแพทย์ในดวงใจ
(1)
ทำขวัญ
(1)
ธรรมเนียมประเพณีของทหารเรือ
(1)
บทความเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
บ้านน้ำจั้น
(1)
บุญข้าวประดับดิน
(1)
บุญข้าวสาก
(1)
บุญเดือน 9
(1)
บุญบั้งไฟ
(1)
ประเพณี
(6)
ประเพณีกำฟ้า
(1)
ประเพณีแข่งขันเรือยาว
(1)
ประเพณีทหารเรือ
(1)
ประเพณีทำขวัญ
(1)
ประเพณีทำขวัญแม่โพสพ
(1)
ประเพณี ไทย
(9)
ประเพณีไทยไทย
(1)
ประเพณีบุญบั้งไฟ
(1)
ประเพณีบุญบั้งไฟ 2557
(1)
ประเพณีผูกเสี่ยว
(1)
ประเพณีภาคกลาง
(1)
ประเพณีภาคใต้
(1)
ประเพณีภาคเหนือ
(1)
ประเพณียี่เป็ง
(1)
ประเพณีลอยกระทง
(1)
ประโยชน์ของดนตรี
(1)
ประโยชน์ของศิลปะ
(1)
ประโยชน์ดนตรี
(1)
ประวัติ เพลงชาติไทย
(1)
ปรัชญา
(1)
ผูกเสี่ยว
(1)
พระราชดำรัส
(1)
พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
(1)
พอเพียง
(3)
พิธีจัดงานศพ
(1)
เพลงแข่งขันวงดนตรีไทย
(1)
เพลงชาติไทย
(1)
ภาพประเพณีไทยประกวด ภาพ วาด 2557
(1)
ภาพวาด
(1)
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย
(1)
ภูมิปัญญาชาวบ้าน
(3)
ภูมิปัญญาชาวบ้านปัจจุบัน
(1)
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
(3)
ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย
(1)
ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน
(1)
ภูมิปัญญาไทย
(1)
มโหรี
(1)
มโหรีพื้นบ้าน
(1)
มะโย่ง
(1)
ระดับประเทศ
(1)
ระเบียบประเพณีไทย
(1)
เรียงความ
(3)
เรียงความ ประเพณี ไทย
(2)
เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง
(2)
เรียนวาดภาพ
(1)
เรือยาวสกลนคร
(1)
โรงเรียน
(1)
ลอยกระทง
(1)
ลอยกระทงภาคเหนือ
(1)
ลาวบุญคูนข้าว
(1)
วงมโหรีพื้นบ้าน
(1)
วันเด็ก 2559
(1)
วันเด็กแห่งชาติ
(1)
วันที่ห้ามเผาศพ
(1)
วันผีกิน
(1)
วันลอยกระทง
(1)
วาดภาพระบายสีเศรษฐกิจพอเพียง
(1)
ว่าว
(1)
ว่าวควาย
(1)
ว่าวจุฬา
(1)
ว่าวไทย
(1)
ว่าวปักเป้า
(1)
ว่าว ภาษาอังกฤษ
(1)
ศิลป์สร้างสรรค์
(1)
ศิลป์สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้
(1)
ศิลปหัตถกรรม 2557
(1)
ศิลปหัตถกรรม 64
(1)
ศิลปะ
(4)
ศิลปะกับมนุษย์
(1)
ศิลปะในสังคมไทย
(4)
ศิลปะบำบัด
(3)
ศิลปะบำบัดพื้นฐาน
(2)
ศิลปะเพื่อชีวิต
(1)
ศิลปะเพื่อสุขภาพ
(1)
เศรษฐกิจพอเพียง
(8)
เศรษฐกิจพอเพียง คือ
(1)
เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียน
(1)
สกลนคร 2557
(1)
สมัยกรุงสุโขทัย
(1)
สอนวาดภาพ
(1)
สังคม
(1)
สัปเหร่อ
(1)
สัมพันธภาพ
(1)
สัมพันธภาพกับผู้อื่น
(1)
สัมพันธภาพที่ดี
(1)
สืบทอดวัฒนธรรม
(1)
หลักการอยู่ร่วมกัน
(1)
แห่ดาว
(1)
แห่ดาว ท่าแร่
(1)
แห่ดาว สกลนคร
(1)
อนุรักษ์
(1)
อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
(1)
เอกลักษณ์ไทย
(1)