Mohon Aktifkan Javascript!Enable JavaScript

การแข่งขัน “ศิลป์สร้างสรรค์”

ศิลป์สร้างสรรค์

การแข่งขัน ศิลป์สร้างสรรค์”
1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน
- เป็นนักเรียนระดับชั้น ป. 1 – ป.3
- เป็นนักเรียนระดับชั้น ป.4 – ป.6
- เป็นนักเรียนระดับชั้น ม. 1 – ม.3
- เป็นนักเรียนระดับชั้น ม. 4 – ม.6
2. ประเภทและจำนวนผู้เข้าแข่งขัน
2.1 ประเภท เดี่ยว
2.2 จำนวนผู้เข้าแข่งขัน
- ระดับชั้น ป.1 – ป.3 จำนวน 1 คน
- ระดับชั้น ป.4 – ป.6 จำนวน 1 คน
- ระดับชั้น ม. 1 – ม.3 จำนวน 1 คน
- ระดับชั้น ม.4 – ม.6 จำนวน 1 คน



ศิลป์สร้างสรรค์
ศิลป์สร้างสรรค์


3. วิธีดำเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน
3.1 ส่งรายชื่อผู้เข้าแข่งขัน
3.2 ใช้กระดาษ 100 ปอนด์ ขนาดกระดาษ
- ระดับชั้น ป.1- ป.3 และ ป.4-ป. 6 ขนาด 11” x 15”
- ระดับชั้น ม.1- ม.3 และ ม.4- ม.6 ขนาด 15” x 22”
3.3 คณะกรรมการกำหนดหัวข้อในการวาดภาพในวันแข่งขันโดยให้คณะกรรมการร่วมกันกำหนดหัวข้ออย่างน้อย 5 หัวข้อ แล้วให้ตัวแทนผู้เข้าแข่งขันจับสลากเพียง 1 หัวข้อ เพื่อเป็นหัวข้อในการวาดภาพ
3.4 การวาดภาพให้ใช้ความสามารถทั้งด้านการวาดภาพระบายสี และเทคนิคการใช้สีโดยใช้สีหรือวัตถุที่ทำให้เกิดสี ไม่ต่ำกว่า 2 ชนิด เช่น สีฝุ่น สีผสมอาหาร ฯลฯ และใช้เทคนิคการพิมพ์ภาพ อย่างง่าย ดังนี้
- ระดับชั้น ป.1– ป.3 การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์วัสดุธรรมชาติไม่ผ่านการแกะ/สลัก/ตกแต่ง
- ระดับชั้น ป.4– ป.6 การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์วัสดุธรรมชาติผ่านการแกะ/สลัก/ตัด/ตกแต่ง
- ระดับชั้น ม.1 – ม.3 การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์วัสดุธรรมชาติและหรือวัสดุสังเคราะห์ ผ่านการแกะ/สลัก/ตัด/ตกแต่ง
- ระดับชั้น ม.4 – ม.6 การพิมพ์ภาพจากแม่พิมพ์วัสดุธรรมชาติและหรือวัสดุสังเคราะห์ ผ่านการแกะ/สลัก/ตัด/ตกแต่ง
3.5 ไม่ต้องเคลือบภาพและไม่ต้องใส่กรอบภาพ
3.6 ห้ามนำต้นฉบับมาดูในขณะแข่งขัน
3.7 ผู้เข้าแข่งขันต้องเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาเอง
3.8 เวลาในการวาดภาพ 3 ชั่วโมง
4. เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน
- ความคิดสร้างสรรค์ 20 คะแนน
- เทคนิคการใช้สี 20 คะแนน
- ความประณีต/ความสวยงามของรูปภาพ 20 คะแนน
- ความสอดคล้องของภาพกับหัวข้อที่กำหนด 20 คะแนน
- ความสมบูรณ์และการจัดองค์ประกอบของภาพ 20 คะแนน
5. เกณฑ์การตัดสิน
ร้อยละ 80 - 100 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง
ร้อยละ 70 - 79 ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน
ร้อยละ 60 - 69 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง
ต่ำกว่าร้อยละ 60 ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการจะเห็นเป็นอย่างอื่น
ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด
6. คณะกรรมการการแข่งขัน ระดับชั้นละ 3 หรือ 5 คน
คุณสมบัติของคณะกรรมการ
- เป็นศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
- เป็นครูที่ทำการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
- ผู้ทรงคุณวุฒิในด้านศิลปะ
ข้อควรคำนึง
- กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน
- กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่ทำการสอน
- กรรมการควรมีที่มาจาก ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาอื่นอย่างหลากหลาย
- กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเติมเต็มให้กับนักเรียนที่ชนะในลำดับที่ 1 -3 และจัดแสดง
ผลงานต่อสาธารณชน
7. การเข้าแข่งขันระดับชาติ
7.1 บุคคลหรือทีมที่ เป็นตัวแทนของเขตพื้นที่ การศึกษาเข้าแข่งขันในระดับภาค ทุกกิจกรรมต้องได้
คะแนนระดับเหรียญทอง ลำดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) และบุคคลหรือทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันในระดับชาติ จะต้องได้คะแนนระดับเหรียญทอง ลำดับที่ 1 - 3 (คะแนนร้อยละ 8๐ ขึ้นไป )
7.2 ในกรณีที่มีผู้ชนะลำดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า 3 คน/ทีม ให้พิจารณาลำดับที่ ตามลำดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น มีผู้ที่ ได้คะแนนข้อที่ 1 เท่ากันให้ดูข้อที่ 2 ผู้ที่ ได้คะแนนข้อที่ 2 มากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ ถ้าข้อที่ 2 เท่ากัน ให้ดูในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อให้ ประธานกรรมการตัดสินเป็นผู้ชี้ขาด


คำค้นหา ศิลป์สร้างสรรค์
ศิลป์สร้างสรรค์, ศิลป์สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้, ศิลป์สร้างสรรค์ระดับประเทศ, ศิลป์สร้างสรรค์ สําหรับปฐมวัย, ศิลป์สร้างสรรค์ คือ, ศิลป์สร้างสรรค์ หมายถึง, ศิลป์สร้างสรรค์ จากกระดาษ, ศิลป์สร้างสรรค์ ป.1-3, ศิลป์สร้างสรรค์ คืออะไร, ศิลป์สร้างสรรค์ ป.4-6, ศิลป์สร้างสรรค์ จากวัสดุเหลือใช้, ศิลป์สร้างสรรค์ อาเซียน, ศิลป์สร้างสรรค์ ศิลปหัตถกรรม, ศิลป์สร้างสรรค์ ม.ต้น, ศิลป์สร้างสรรค์ เศรษฐกิจพอเพียง, ศิลป์สร้างสรรค์ ม.1-3, ศิลป์สร้างสรรค์ ป 3, ศิลป์สร้างสรรค์ งานใบตอง, ศิลป์สร้างสรรค์ ม.ปลาย, ศิลป์สร้างสรรค์ จากวัสดุธรรมชาติ, ศิลป์สร้างสรรค์ อนุบาล, ศิลป์สร้างสรรค์ระดับประเทศ, ศิลป์สร้างสรรค์ ประถม, ศิลป์สร้างสรรค์ อาเซียน, ศิลป์สร้างสรรค์ เศรษฐกิจพอเพียง, ศิลป์สร้างสรรค์ธรรมชาติ, ศิลป์สร้างสรรค์ ศิลปหัตถกรรม
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>

ภาพวาดประกวดประเพณีไทย

ภาพวาดประกวดประเพณีไทย

ลายๆ ท่าน หลายโรงเรียนในช่วงนี้ อาจจะกำลังตามหารูปภาพที่จะใช้ในการวาดประกวดใน หัวข้อ "ภาพวาดประกวดประเพณีไทย" เพื่อให้เด็กๆ ได้หัดวาด หัดทำ เพื่อที่จะนำมาใช้ในการประกวดวาดภาพ  การแข่งขันเขียนภาพไทยประเพณี ที่กำลังจะมีขึ้นในงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่  ๖๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โดยมีการจัดเป็นประจำในทุกๆ ปี และในปีนี้ ก็มีหัวข้อการจัดแข่งขันไว้มากมาย ในครั้งนี้ผมจะขอแบ่งปันรูปภาพต่างๆท่่ใช้ในการประกวด ภาพวาดประกวดประเพณีไทย เพื่อใช้ในการเตรียมตัวนักเรียน หรือ ลูกศิษย์ ของท่าน เพื่อให้มีจินตนาการในการสร้างสรรคืผลงานและ มีความรวดเร็วในการสร้งผลงาน ภาพวาดประกวดประเพณีไทย


ภาพวาดประกวดประเพณีไทย
"ภาพวาดประกวดประเพณีไทย"
ระดับอายุไม่เกิน ๘ ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง


ด.ช.ภัทรคม  กรลักษณ์  อายุ ๗ ปี  ชื่อภาพ ขี่ม้า  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๕๔ ๗๔ ซม.

ระดับอายุไม่เกิน ๘ ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน



ด.ญ.โสภิดา  แก้วสุข  อายุ ๗ ปี  ชื่อภาพ นกฮูกตาโต  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๕๔ ๗๕ ซม.



ด.ช.ฆรวัณณ์  เอียดแก้ว  อายุ ๗ ปี  ชื่อภาพ ตัวฉัน...ฝัน  เทคนิค สีชอล์ค  ขนาด ๕๖ x ๗๖ ซม.

ระดับอายุไม่เกิน ๘ ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง



ด.ญ.ธมน  ง้วนประเสริฐ  อายุ ๕ ปี  ชื่อภาพ นางรำ  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๕๓ ๗๖ ซม.



ด.ญ.พรหมพร  บุญอาจ อายุ ๖ ปี  ชื่อภาพ ผีเสื้อแสนสวย  เทคนิค สีอะครีลิก  ขนาด ๕๖ ๗๖ ซม.



ด.ช.ปวีร์  คำภากุล  อายุ ๕ ปี  ชื่อภาพ มังกร  เทคนิค สีชอล์ค  ขนาด ๕๑ ๗๖ ซม.



ด.ญ.วีรดา  ฉัตรชัยการ  อายุ ๘ ปี  ชื่อภาพ พลังงานของพ่อหลวง  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๗๕ ๑๑๐ ซม.



ด.ญ.อรญา  พิมพา อายุ ๗ ปี  ชื่อภาพ ปิดทองหลวงพ่อโต  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๕๖ ๗๖ ซม.



ด.ญ.ทัดตะวัน  อินสมตัว  อายุ ๖ ปี  ชื่อภาพ เด็กหญิงดอกไม้  เทคนิค สีผสม  ขนาด ๕๕ ๗๖ ซม.



ด.ญ.วิกาวี  รัตตมณี  อายุ ๗ ปี  ชื่อภาพ ชีวิตกับความฝัน  เทคนิค สีชอล์คกับสีไม้  ขนาด ๕๕ ๗๕ ซม.

ระดับอายุ  ๙ - ๑๒  ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง



ด.ช.ทิวทัศน์  คะนะมะ  อายุ ๙ ปี  ชื่อภาพ ประเพณีบุญผะเหวด  เทคนิค สีเมจิก สีไม้ สีอะครีลิก  ขนาด ๘๐๑๑๒ ซม.

ระดับอายุ  ๙ - ๑๒  ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน



ด.ช.สิรภัทร  เบญจชย  อายุ ๑๑ ปี  ชื่อภาพ ชีวิตพอเพียง  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๕๕ ๗๖ ซม.



ด.ญ.ธัญวรัตน์  นุตยางกูร  อายุ ๙ ปี  ชื่อภาพ ฉันนอนกับแม่  เทคนิค สีผสม  ขนาด ๕๕ ๗๖ ซม.

ระดับอายุ  ๙ - ๑๒  ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง


ด.ญ.จิดาภา  ตรงศิริวิบูลย์  อายุ ๑๑ ปี  ชื่อภาพ เมืองไทยวันนี้  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๓๗.๕ ๕๕ ซม.



ด.ญ.ธันยพร  สุขโต อายุ ๙ ปี  ชื่อภาพ เวียนเทียน ๒  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๕๖ ๗๖ ซม.



ด.ญ.กิตติยา  พาระวัน อายุ ๑๑ ปี  ชื่อภาพ เที่ยวเมืองหลวง  เทคนิค สีโปสเตอร์ สีหมึก  ขนาด ๕๖ ๗๖ ซม.



ด.ญ.แคทรีน  วิสุนราช อายุ ๑๑ ปี  ชื่อภาพ ดำน้ำ  เทคนิค สีชอล์ค สีโปสเตอร์  ขนาด ๕๖ ๗๔ ซม.



ด.ญ.ณัฐริกา  แจ้งแสง อายุ ๑๑ ปี  ชื่อภาพ รามเกียรติ์ ตอนประเทศไทย ๒๕๕๑  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๕๖ ๗๖ ซม.



ด.ญ.ปทิตตา  กาญจนะปริชาติ อายุ ๑๐ ปี  ชื่อภาพ จับปลา ๑  เทคนิค สื่อผสม  ขนาด ๕๕ ๗๕ ซม.



ด.ญ.อรอุมา  ปัญจมาศ อายุ ๑๑ ปี  ชื่อภาพ อพาร์ทเมนท์ ๒   เทคนิค ภาพพิมพ์กระดาษและเขียนสีชอล์ค ขนาด ๗๐ ๑๐๐ ซม.

ระดับอายุ  ๑๓ - ๑๖  ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง



นายจักรพงษ์  เทพเกาะ  อายุ ๑๕ ปี  ชื่อภาพ หุ่นไล่กา  เทคนิค แกะไม้ระบายสี  ขนาด ๙๐ ๑๒๐ ซม.

ระดับอายุ  ๑๓ - ๑๖  ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน



ด.ญ.หทัยวรรณ  เทพมาลี  อายุ ๑๔ ปี  ชื่อภาพ ความศรัทธา  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๑๒๐ ๑๒๐ ซม.



น.ส.นริศรา  จิโรจนนุกุล  อายุ ๑๖ ปี  ชื่อภาพ ประจัญบาน  เทคนิค สีอะครีลิก  ขนาด ๑๐๐ ๑๒๐ ซม.

ระดับอายุ  ๑๓ - ๑๖  ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง



ด.ญ.ทักษพร  กล้ากสิกิจ  อายุ ๑๔ ปี  ชื่อภาพ ให้พร  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๘๐ ๑๑๐ ซม.



นายทศพร  กลันพล  อายุ ๑๖ ปี  ชื่อภาพ ภูมิปัญญา  เทคนิค สีน้ำมัน  ขนาด ๑๐๐ ๑๒๐ ซม.



นายพัลลภ  วงศ์วิไลพิสิฐ  อายุ ๑๕ ปี  ชื่อภาพ แทนพระคุณ  เทคนิค สีโปสเตอร์  ขนาด ๕๖ ๖๗.๕ ซม.



นายอธิศ  มณีนพผล  อายุ ๑๖ ปี  ชื่อภาพ แม่...ของฉัน  เทคนิค สีอะครีลิก  ขนาด ๙๐ ๑๒๐ ซม.



นายเอก  รอดเมฆ  อายุ ๑๕ ปี  ชื่อภาพ ในกรง  เทคนิค สื่อผสม  ขนาด ๗๐ ๑๐๐ ซม.



ด.ญ.ชนิดา  สงวนเผ่า  อายุ ๑๔ ปี  ชื่อภาพ ในจินตนาการ  เทคนิค สื่อผสม  ขนาด ๗๖ ๑๑๒ ซม.



น.ส.มาริสา  เดชจำเริญ  อายุ ๑๕ ปี  ชื่อภาพ แห้งแล้ง  เทคนิค สื่อผสม  ขนาด ๑๙ ๓๐ x ๑๐๐ ซม.

ระดับอายุ  ๑๗ - ๒๐  ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญทอง



นายพุรพล  โซโต้หยิน  อายุ ๑๘ ปี  ชื่อภาพ พฤติกรรมเลียนแบบ  เทคนิค สีอะครีลิก  ขนาด ๑๒๐ ๑๒๐ ซม.

ระดับอายุ  ๑๗ - ๒๐  ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญเงิน



นายนิพนธ์  พรมสุภา  อายุ ๑๗ ปี  ชื่อภาพ ที่พึ่ง (หยุด)  เทคนิค สีน้ำมัน  ขนาด ๑๐๐ ๑๒๐ ซม.



นายกฤตธี  นันทิทัศน์  อายุ ๑๘ ปี  ชื่อภาพ แก็งค์ราตรี  เทคนิค สีอะครีลิก  ขนาด ๙๐ ๑๒๐ ซม.
ระดับอายุ  ๑๗ - ๒๐  ปี  รางวัลศิลปกรรมเหรียญทองแดง



นายอภินันท์  เกตุกูล  อายุ ๑๗ ปี  ชื่อภาพ ฟักทอง  เทคนิค สีอะครีลิก  ขนาด ๑๐๕ ๑๒๐ ซม.



นายศิลปากร  มณีรัตน์  อายุ ๑๗ ปี  ชื่อภาพ อย่าให้เขามาเชิดเรา  เทคนิค สีน้ำมัน  ขนาด ๑๐๐ ๑๒๐ ซม.



นายอดิศักดิ์  ภักดีนอก  อายุ ๑๗ ปี  ชื่อภาพ บันควาย  เทคนิค แกะไม้ ลงสี  ขนาด ๙๐ ๑๒๐ ซม.



นายพัฒนชัย  วรรณพัฒน์  อายุ ๑๘ ปี  ชื่อภาพ ภัยสังคม (๒๕๕๑)  เทคนิค สื่อผสม  ขนาด ๘๐ ๑๒๐ ซม.



น.ส.จุไฬรัตน์  ขันขยัน  อายุ ๑๗ ปี  ชื่อภาพ ลุ้นระทึก  เทคนิค สีอะครีลิก  ขนาด ๑๐๐ ๑๒๐ ซม.



น.ส.ภัทรริญญา  พรมผอง  อายุ ๑๙ ปี  ชื่อภาพ Me  เทคนิค สื่อผสม  ขนาด ๘๐ ๑๒๐ ซม.



นายสรายุทธ  สิงห์ประเสริฐ  อายุ ๑๗ ปี  ชื่อภาพ ย้อนรอยอดีต  เทคนิค สื่อผสม  ขนาด ๑๒๐ ๑๒๐ ซม.



อ้างอิงที่มารูปภาพ : http://atcloud.com/stories/55229


คำค้นหา
ภาพวาดประกวดประเพณีไทย, ภาพวาด, ประกวดประเพณีไทย, ภาพประเพณีไทย, ภาพวาด3มิติ, ภาพวาดเหมือนจริง, ภาพวาดที่สวยที่สุดในโลก, ภาพวาดการ์ตูน, ภาพวาดสวยๆ, ภาพวาดสามมิติ, ภาพวาดทราย, ภาพวาดวันสุนทรภู่, ภาพวาดสุนทรภู่, ภาพวาดสีน้ํา, ภาพวาดระบายสี, ภาพวาดลายเส้น, ภาพวาดดอกไม้, ภาพวาดของศิลปิน, ภาพวาดพระอภัยมณี, ภาพวาดปลาคาร์ฟ, ภาพวาดธรรมชาติ, ภาพวาดอาร์ตๆ, ภาพวาดยาเสพติด, ภาพวาดศิลปะ, ภาพวาดสีน้ํามัน, ภาพวาด 3 มิติ, ภาพวาด อ.เฉลิมชัย, ภาพวาดสีน้ำมัน, ภาพวาดพื้นถนน 3 มิติ, ภาพวาด3มิติ พัทยา, ภาพประเพณีไทย 4 ภาค, ภาพประเพณีไทย การ์ตูน, ภาพประเพณีไทย ภาคใต้, ภาพประเพณีไทย ภาคกลาง, ภาพ วาด ประเพณี ไทย 5, ภาพ วาด ประเพณี ม 6, ภาพ วาด ประเพณี สงกรานต์, ประกวดภาพวาด 2013, ประกวด ภาพ วาด 2556, ภาพ วาด ประกวด วัน แม่, การ ประกวด ภาพ วาด, งาน ประกวด ภาพ วาด
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>

วัฒนธรรมด้านประเพณีไทย

ประเพณีไทย

         เรื่องของประเพณีต่าง ๆ มีในทุกชาติทุกภาษา ประเทศไทยก็มีประเพณีไทย ส่วนลักษณะจะแตกต่างไปกับชาติอื่นๆ ประการใดก็แล้วแต่ลักษณะหรือสภาพของแต่ละท้องถิ่นหรือแต่ละสังคม เช่น ประเพณีไทยกับประเพณีจีนต่างกันในหลาย ๆ ด้าน ตั้งแต่เรื่องกิริยา มารยาท การเลือกคู่ หมั้นหมาย แต่งงาน ตาย เป็นต้น ส่วนสังคมไทยนั้นจะเป็นการสืบเนื่องมาจากการนับถือพระพุทธศาสนาก็จะมีอิทธิพลด้านพุทธศาสนาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น ประเพณีการบวช ประเพณีเข้าพรรษา ประเพณีออกพรรษา ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง ประเพณีเทศน์มหาชาติ เป็นต้น

         ประเพณีไทย คือ ระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติที่เห็นว่าดีกว่าถูกต้องกว่า หรือ เป็นที่ยอมรับของคนส่วนใหญ่ในสังคมไทย และมีการปฏิบัติสืบต่อ ๆ กันมา เช่น การเกิด การตาย การหมั้นหมาย สมรส บวช ปลูกบ้านใหม่ ขึ้นบ้านใหม่ เป็นต้น ประเภทของประเพณีไทยนั้นมี ๔ ประเภท ได้แก่

ประเพณีไทย
      
๑. ประเพณีไทยปรัมปรา หมายถึง ประเพณีที่เก่าก่อน ราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า สืบ ๆ กันมา เก่าก่อน มีมานาน เช่น นิยายปรัมปราต่าง ๆ อาทิ โรบินฮูดแห่งป่าเชอร์วูดที่ช่วยคนจน ของฝรั่ง
     



ประเพณีไทย
 ๒. จารีตประเพณีไทย หรือ กฎศีลธรรม (Mores) หมายถึง ประเพณีไทยที่มีศีลธรรมเข้ามาร่วมด้วยจึงเป็นกฎที่มีความสำคัญต่อสวัสดิภาพของสังคมสังคมไทย บังคับให้ปฏิบัติตาม เป็นเรื่องความผิดความถูก ความนิยมที่ยึดถือและถ่ายทอดสืบต่อกันมา เช่น การเล่นชู้ ถือว่าประพฤติชั่วไม่เหมาะสม ผิดศีลธรรม เป็นต้น
      
๓. ขนบประเพณีไทย (Thai Institution) หมายถึง ระเบียบ แบบแผน ที่สังคมตั้งขึ้น กำหนดไว้ให้ปฏิบัติร่วมกันทั้งทางตรง และทางอ้อม ทางตรง ได้แก่ ประเพณีที่มีการกำหนดเป็นระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติอย่างชัดแจ้งว่าบุคคลต้องปฏิบัติอย่างไร เข่น การไหว้ครู การศึกษาเล่าเรียน ศาสนา เป็นต้น โดยอ้อม ก็คือประเพณีที่รู้กันโดยทั่วไป โดยไม่ได้วางระเบียบไว้แน่นอน แต่ปฏิบัติได้ เพราะมีการบอกเล่าสืบต่อกันมา หรือจากการที่ผู้ใหญ่หรือบุคคลอื่นปฏิบัติ เช่น แห่นางแมว การจุดบ้องไฟของภาคอีสาน เป็นต้น
         ๔. ธรรมเนียมประเพณีไทย (Thai Convention) หมายถึง ประเพณีไทยที่เกี่ยวกับเรื่องธรรมดา ๆ ไม่มีระเบียบแบบแผนเหมือนขนบธรรมเนียมประเพณีไทย หรือมีความผิดความถูกเหมือนจารีตประเพณี ดังนั้น ธรรมเนียมประเพณีไทยไม่ปฏิบัติตามก็ไม่ผิดหรือมีโทษ เป็นแต่เพียงคนส่วนใหญ่ปฏิบัติกัน และเราก็ปฏิบัติตาม แต่อาจจะไม่เหมือนกับอีกหลายสังคมเป็นเพียงธรรมเนียมของสังคมนั้น ๆ ปฏิบัติกัน เช่น ไทยใช้ช้อนส้อมในการรับประทานอาหาร ฝรั่งใช้มีดกับส้อม เป็นต้น

ประเพณีไทย

เอกลักษณ์ของไทย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานไว้คือไทยแท้ ^^
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>

ประเพณีไทย


ประเพณีไทย
ประเพณีไทย

          ประเพณีไทย หมายถึง กิจกรรมที่มีการกระทำสืบเนื่องกันมา เป็นเอกลักษณ์ของไทยพร้อมทั้งมีความสำคัญต่อสังคมไทย เช่น การแต่งกาย ภาษา วัฒนธรรมไทย ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ คุณธรรม ความเชื่อ ฯลฯ เป็นกฎระเบียบในการประปฏิบัติตนและ การวางตนระหว่างบุคคลในสังคม ตัวอย่างเช่น มารยาทในห้องรับประทานอาหาร ประเพณีไทย นั้นให้ความสำคัญในการให้ความสำคัญกับผู้อาวุโส ผู้น้อยต้องรู้จักมี สัมมาคารวะให้ความเคารพผู้หลักผู้ใหญ่ เช่น เด็กนักเรียนต้องให้ความเคารพครูบาอาจารย์
    ประเพณีล้วนได้รับอิทธิพลมาจากภาวะแวดล้อมภายนอกที่เข้าสู่สังคม รับเอาแบบปฏิบัติที่หลากหลายเข้ามาผสมผสานในการดำรงชีวิตประเพณีจึงเรียกได้ว่าเป็น วิถีแห่งการดำเนินชีวิตของสังคม โดยเฉพาะพระศาสนา ซึ่งมีอิทธิพลต่อประเพณีไทยมากที่สุด วัดวาอารามต่างๆ ในประเทศไทยสะท้อนให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย และชี้ให้เห็นว่าคนไทยให้ความสำคัญในการบำรุงพระพุทธศาสนาด้วยศิลปกรรมที่ งดงามเพื่อใช้ในพิธีกรรมทางศาสนาตั้งแต่สมัยโบราณ ฯลฯ
              คำว่า “ประเพณี” ตามพจนานุกรมภาษาไทยฉบับบัณฑิตยสถาน ได้กำหนดความหมายประเพณีไว้ว่า ประเพณี คือ ขนบธรรมเนียมแบบแผน ซึ่งสามารถแยกคำต่างๆ ออกได้เป็น ขนบ มีความหมายว่า ระเบียบแบบอย่าง ธรรมเนียม มีความหมายว่า ที่นิยมใช้กันมา และเมื่อนำมารวมกันแล้วก็มีความหมายว่า ความประพฤติที่คนส่วนใหญ่ ยึดถือเป็นแบบแผน และได้ทำการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนเป็นต้นแบบที่จะให้คนรุ่นต่อๆ ไปได้ประพฤติปฏิบัติตามกันต่อไป
ดังนั้น ขนบธรรมเนียม หมายความว่า ความประพฤติที่คนส่วนใหญ่ ยึดถือเป็นแบบแผน และได้ทำการปฏิบัติสืบต่อกันมา จนเป็นต้นแบบที่จะให้คนรุ่นต่อๆ ไปได้ประพฤติปฏิบัติตามกันต่อไป

     ประเพณีไทย นั้นเป็นประเพณีที่ได้อิทธิพลอย่างสูงจากพระพุทธศาสนา และอิทธิพลจากศาสนาอื่นเช่น ศาสนาพราหมณ์ และการอพยพของชาวต่างชาติ ตัวอย่างเช่น ชาวจีนก็มีอิทธิพลของประเพณีไทย
     ประเพณีไทยนั้นสามารถแบ่งออกเป็นสามด้านใหญ่ๆ ได้แก่ ภาษา, ศิลปะ และประเพณี


ด้านภาษา
ประเพณีไทย
เรียนรู้ภาษาไทย
       ภาษาไทย เป็นภาษาประจำชาติของคนไทย ตัวอักษรของภาษาไทยถูกสร้างขึ้นในสมัยพ่อขุนรามคำแหงในปี ค.ศ. 1283 ตัวอักษรของภาษาไทยได้รับอิทธิพลมาจากภาษาบาลี และสันสกฤต จากสื่อขอมโบราณ ในปัจจุบันภาษาไทยประกอบด้วยตัวอักษร 44ตัว (สี่สิบสี่ตัว) ภาษาไทยมีห้าโทนเสียง คือ สามัญ, เอก, โท, ตรี, จัตวา ซึ่งแตกต่างจากภาษาอื่น เช่น ภาษาอังกฤษ คำว่า บ่า กับ บ้า นั้นมีความที่แตกต่างกัน ภาษาไทยในปัจจุบันได้รับอิทธพลมาจากภาษาต่างๆ ทั่วโลกเช่น บาลี, ขอม, มาเล, ภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน


ด้านศิลปะไทย
ประเพณีไทย
อนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรมไทย
          ศิลปะไทย นั้นได้รับอิทธิพลอย่างสูงจากพระเจ้าแผ่นดินและชาววังแต่ครั้งโบราณ ประเพณีการสร้างภาพวาดฝาหนัง ก็ยังถูกนิยมมาใช้เพื่อเล่าเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับ พิธีกรรมทางการศาสนา
          ตั้งแต่สมัยโบราณคนไทยให้ความสำคัญกับพระพุทธศาสนา จะเห็นได้ว่าคนไทยจากสมัยโบราณจนถึงปัจจุบันนิยม สร้างสิ่งก่อสร้าง ในทางพระพุทธศาสนา เช่น เจดีย์,วัด,หรือสถูป โดยสิ่งปลูกสร้าง ทางพระพุทธศาสนาเหล่านี้นิยม ใช้ในพิธีกรรมที่สำคัญต่างๆในชุมชน เช่น วัดมักนิยมเป็นที่จัดงานประจำปี นอกจากนี้แล้ววัดจึงเป็นจุดศูนย์กลางของหมู่บ้าน เป็นสถานที่เรียนหนังสือกับเยาวชนและประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
          ภาษาบาลีนั้น คำว่าเจดีย์ หมายความว่า จิตใจหรือ เครื่องระลึกเตือนใจ คำว่าสถูปนั้น หมายความว่า เดือน สิ่งปลูกสร้างเหล่านี้ถูกสร้างมาเพื่อต้องการ ให้รำลึกถึงความเชื่อใน พระพุทธศาสนาที่ว่าสังขารของคนนั้นไม่เที่ยงแท้ เมื่อมีการเกิดก็ย่อมต้องมีวันแตกดับได้เป็นไปตามปัจจัยของโลก คนสมัยก่อนจึงมีประเพณีนิยมสร้างเจดีย์ใน วัดเพื่อเตือนใจคนในสังคมไม่ให้ทำความชั่ว และหมั่นสร้างความดีเพื่อเป็นคุณประโยชน์ต่อตนเองและสังคมในภพนี้และภพหน้า
          เจดีย์ยังนิยมให้สร้างขึ้นเพื่อบรรจุอัฐิของพระพุทธรูป หากบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้าหรือ ของพระมหากษัตริย์นั้นก็จะเรียกว่าธาตุเจดีย์


ด้านประเพณีไทย
ประเพณีไทย
การไหว้ทำความเคารพผู้ใหญ่แบบไทย ไทย
          ประเพณีไทย เป็นขนบธรรมเนียมอันดีงามที่สืบทอดต่อกันมา ล้วนแตกต่างกันไปตามความเชื่อ ความผูกพันของผู้คนต่อพุทธศาสนา และการดำรงชีวิตที่สอดประสานกับฤดูกาลและ ธรรมชาติอย่างชาญฉลาดของชาวบ้านในแต่ละท้องถิ่น ทั่วแผ่นดินไทย เช่น 
          ภาคเหนือ ประเพณีบวชลูกแก้วของคนไต หรือชาวไทยใหญ่ที่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน 
          ภาคอีสาน ประเพณีบุญบั้งไฟ ของชาวจังหวัดยโสธร            
          ภาคกลาง ประเพณีทำขวัญข้าว ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา    
          ภาคใต้ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ของชาวจังหวัดนครศรีธรรมราช ฯลฯ
          ประเพณี และอารยธรรมไทยยังนำมาซึ่งการท่องเที่ยว และเป็นที่รู้จักและประทับใจแก่ชาติอื่น นับเป็นมรดกอันล้ำค่าที่เราคนไทยควรอนุรักษ์ และสืบสานให้ยาวนานตลอดไป

ประเพณีไทย

เอกลักษณ์ของไทย ร่วมกันอนุรักษ์สืบสานไว้คือไทยแท้ ^^
อ่านประเพณีไทยเพิ่มเติม >>
ประเพณีไทย ประเพณีไทย ประเพณีไทย
Related Posts Plugin for WordPress, Blogger...

เศรษฐกิจพอเพียง

วาดรูปเศรษฐกิจพอเพียง

ประเพณีไทย

ประเพณีไทย

ประเพณีไทย
Presented by anirud ประเพณีไทย on Nov 01 2012
Rating: 5
ประเพณีไทย โดย anirud

ความรู้ ประเพณีไทย

คำค้นหา ประเพณีไทย

กลอนประเพณีผูกเสี่ยว (1) การประสมวงดนตรีไทย (1) การรักษาสัมพันธภาพ (1) การละเล่นไทย (3) การละเล่นพื้นบ้านมะโย่ง (1) การละเล่นภาคใต้ (1) การละเล่นว่าว (1) การเล่นโพงพาง (1) การเล่นว่าว (1) การเล่นว่าวไทย (1) การวาดภาพ (1) การ วาด ภาพ ระบายสี โปสเตอร์การ (1) การสร้างสัมพันธภาพ (1) การอยู่ร่วมกัน (1) การอยู่ร่วมกันในสังคม (2) เกณฑ์การแข่งขัน (1) เกษตรแบบผสมผสาน (1) ขนบธรรมเนียม (2) ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย (1) เขียนเรียงความ (1) แข่งขันดนตรีไทย (1) แข่งขันเรือยาว (2) แข่งขันเรือยาว สกลนคร 2557 (1) แข่งดนตรีไทย (1) ครอบครัวพอเพียง (1) ครอบครัวพอเพียง เรียงความ (1) ความคิดและการแสดงออก (1) ความเป็นไทย (1) ความเป็นมาเศรษฐกิจพอเพียง (1) ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง (1) คำกลอนประเพณีบุญบั้งไฟ (1) คำขวัญวันเด็ก (1) คำขวัญวันเด็ก 2559 (1) โคมลอย (1) งานศพ (1) งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน (1) ดนตรี (1) ดนตรีไทย (2) ทหารเรือ (1) ทักษะการเขียนเรียงความ (1) ทักษะการสร้างสัมพันธภาพ (1) ทันตแพทย์ในดวงใจ (1) ทำขวัญ (1) ธรรมเนียมประเพณีของทหารเรือ (1) บทความเศรษฐกิจพอเพียง (1) บ้านน้ำจั้น (1) บุญข้าวประดับดิน (1) บุญข้าวสาก (1) บุญเดือน 9 (1) บุญบั้งไฟ (1) ประเพณี (6) ประเพณีกำฟ้า (1) ประเพณีแข่งขันเรือยาว (1) ประเพณีทหารเรือ (1) ประเพณีทำขวัญ (1) ประเพณีทำขวัญแม่โพสพ (1) ประเพณี ไทย (9) ประเพณีไทยไทย (1) ประเพณีบุญบั้งไฟ (1) ประเพณีบุญบั้งไฟ 2557 (1) ประเพณีผูกเสี่ยว (1) ประเพณีภาคกลาง (1) ประเพณีภาคใต้ (1) ประเพณีภาคเหนือ (1) ประเพณียี่เป็ง (1) ประเพณีลอยกระทง (1) ประโยชน์ของดนตรี (1) ประโยชน์ของศิลปะ (1) ประโยชน์ดนตรี (1) ประวัติ เพลงชาติไทย (1) ปรัชญา (1) ผูกเสี่ยว (1) พระราชดำรัส (1) พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (1) พอเพียง (3) พิธีจัดงานศพ (1) เพลงแข่งขันวงดนตรีไทย (1) เพลงชาติไทย (1) ภาพประเพณีไทยประกวด ภาพ วาด 2557 (1) ภาพวาด (1) ภาพวาดประกวดประเพณีไทย (1) ภูมิปัญญาชาวบ้าน (3) ภูมิปัญญาชาวบ้านปัจจุบัน (1) ภูมิปัญญาท้องถิ่น (3) ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย (1) ภูมิปัญญาท้องถิ่นอีสาน (1) ภูมิปัญญาไทย (1) มโหรี (1) มโหรีพื้นบ้าน (1) มะโย่ง (1) ระดับประเทศ (1) ระเบียบประเพณีไทย (1) เรียงความ (3) เรียงความ ประเพณี ไทย (2) เรียงความเศรษฐกิจพอเพียง (2) เรียนวาดภาพ (1) เรือยาวสกลนคร (1) โรงเรียน (1) ลอยกระทง (1) ลอยกระทงภาคเหนือ (1) ลาวบุญคูนข้าว (1) วงมโหรีพื้นบ้าน (1) วันเด็ก 2559 (1) วันเด็กแห่งชาติ (1) วันที่ห้ามเผาศพ (1) วันผีกิน (1) วันลอยกระทง (1) วาดภาพระบายสีเศรษฐกิจพอเพียง (1) ว่าว (1) ว่าวควาย (1) ว่าวจุฬา (1) ว่าวไทย (1) ว่าวปักเป้า (1) ว่าว ภาษาอังกฤษ (1) ศิลป์สร้างสรรค์ (1) ศิลป์สร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้ (1) ศิลปหัตถกรรม 2557 (1) ศิลปหัตถกรรม 64 (1) ศิลปะ (4) ศิลปะกับมนุษย์ (1) ศิลปะในสังคมไทย (4) ศิลปะบำบัด (3) ศิลปะบำบัดพื้นฐาน (2) ศิลปะเพื่อชีวิต (1) ศิลปะเพื่อสุขภาพ (1) เศรษฐกิจพอเพียง (8) เศรษฐกิจพอเพียง คือ (1) เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียน (1) สกลนคร 2557 (1) สมัยกรุงสุโขทัย (1) สอนวาดภาพ (1) สังคม (1) สัปเหร่อ (1) สัมพันธภาพ (1) สัมพันธภาพกับผู้อื่น (1) สัมพันธภาพที่ดี (1) สืบทอดวัฒนธรรม (1) หลักการอยู่ร่วมกัน (1) แห่ดาว (1) แห่ดาว ท่าแร่ (1) แห่ดาว สกลนคร (1) อนุรักษ์ (1) อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข (1) เอกลักษณ์ไทย (1)

เว็บไซต์เพื่อนบ้าน

ผู้ติดตามข่าวสารประเพณีไทย

ผู้ชมเว็บไซต์ ประเพณีไทย

ผู้ชมเว็บไซต์ ประเพณีไทย วัดโดยstats.in.th